รายพระนามสุลต่านแห่งออตโตมัน

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

สุลต่านจักรวรรดิออตโตมัน (ตุรกี: Osmanlı padişahları) เป็นสมาชิกทั้งหมดในราชวงศ์ออตโตมันที่ปกครองจักรวรรดิข้ามทวีปตั้งแต่ ค.ศ. 1299 จนกระทั่งล่มสลลายใน ค.ศ. 1922 จักรวรรดิออตโตมันในช่วงสูงสุดกินพื้นที่ตั้งแต่ฮังการีทางเหนือถึงเยเมนทางใต้ และจากแอลจีเรียทางตะวันตกถึงอิรักทางตะวันออก พระมหากษัตริย์บริหารครั้งแรกในเมือง Söğüt จนถึง ค.ศ. 1280 แล้วย้ายไปที่เมืองบูร์ซาใน ค.ศ. 1323 หรือ 1324 ต่อมามีการย้ายเมืองหลวงไปที่เอเดรียโนเปิล (ปัจจุบันคือเอดีร์แน) ใน ค.ศ. 1363 หลังการพิชิตของสุลต่านมูรัดที่ 1 แล้วไปที่คอนสแตนติโนเปิล (ปัจจุบันคืออิสตันบูล) ใน ค.ศ. 1453 หลังการพิชิตของสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2[1]

สุลต่าน
แห่งจักรวรรดิออตโตมัน
Osmanlı padişahı
ราชาธิปไตยในอดีต
จักรวรรดิ
ตราแผ่นดินจักรวรรดิ
ผู้ปกครององค์สุดท้าย
สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 6
4 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 – 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1922

ปฐมกษัตริย์สุลต่านออสมันที่ 1 (ประมาณ ค.ศ. 1299–1323/4)
องค์สุดท้ายสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 6 (ค.ศ. 1918–1922)
อิสริยยศHis Imperial Majesty
สถานพำนักพระราชวังในอิสตันบูล:
ผู้แต่งตั้งสืบราชสันตติวงศ์
เริ่มระบอบประมาณ ค.ศ. 1299
สิ้นสุดระบอบ1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1922
ธงพระอิสริยยศออตโตมัน
ผังพระราชวงศ์

ในช่วงต้นของจักรวรรดิออตโตมันมีรายงานหลายแบบ เพราะเป็นเรื่องยากที่จะแยกความจริงออกจากตำนาน จักรวรรดินี้เริ่มมีตัวตนในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 และผู้ปกครองคนแรก (และชื่อของจักรวรรดิ) คือสุลต่านออสมันที่ 1 ตามตำนานของออตโตมัน ออสมันสืบเชื้อสายมาจากเผ่าคายือแห่งชาวเติร์กโอฆุซ[2] จักรวรรดิออตโตมันที่พระองค์ก่อตั้งดำรงอยู่เป็นเวลาหกศตวรรษผ่านรัชสมัยสุลต่าน 36 องค์ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายหลังความพ่ายแพ้ของฝ่ายมหาอำนาจกลาง ซึ่งตนเป็นพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ฝ่ายสัมพันธมิตรที่เป็นฝ่ายชนะได้แบ่งจักรวรรดิออตโตมัน และทำให้เกิดสงครามประกาศอิสรภาพตุรกี นำไปสู่การล้มล้างระบอบสุลต่านใน ค.ศ. 1922 และการก่อตั้งประเทศตุรกีสมัยใหม่ใน ค.ศ. 1922[3]

รายพระนาม แก้

พระนามพระบรมฉายาลักษณ์เริ่มรัชกาลสิ้นรัชกาลตราพระปรมาภิไธยทูกราหมายเหตุ
สถาปนาจักรวรรดิ
(1299 – 1453)
1ออสมันที่ 1
ĠĀZĪ (ขุนศึก)
ราว. 1299ราว. 1326 [4]
[c]
  • โอรส เอตูกรุล เบย์[5] กับสตรีไม่ปรากฏนาม[6]
  • ทรงราชย์ตลอดพระชนม์ชีพ
2ออร์ฮานที่ 1
ĠĀZĪ (ขุนศึก)
c. 1326 [7]1362
3มูรัดที่ 1
SULTAN-İ AZAM (สุลต่านผู้สูงส่งที่สุด)
HÜDAVENDİGÂR
(ผู้เป็นที่รักยิ่งจากพระเจ้า)
ŞEHÎD (ผู้พลีชีพ) [9][b]
136215 มิถุนายน 1389
4บาเยซิดที่ 1
SULTAN-İ RÛM (สุลต่านแห่งจักรวรรดิโรมัน)
YILDIRIM (ผู้ส่องแสง)
15 มิถุนายน 138920 กรกฎาคม 1402
สงครามกลางเมืองออตโตมัน[d]
(20 กรกฎาคม 14025 กรกฎาคม 1413)
อิซา เซเลบี
สุลต่านร่วมอนาโตเลีย
1403–1405
(สุลต่านแห่งอนาโตเลียตะวันตก)
1406
อีเมียร์ (อาเมียร์)
สุไลยมาน เซเลบี

ปฐมสุลต่านแห่งรูเมเลีย
20 กรกฎาคม 140217 กุมภาพันธ์ 1411[12]
มูซา เซเลบี
สุลต่านรูเมเลียที่ 2
18 กุมภาพันธ์ 14115 กรกฎาคม 1413[14]
เมห์เหม็ด เซเลบี
สุลต่านอนาโตเลีย
1403–1406
(สุลต่านแห่งดินแดนอนาโตเลียตะวันออก)’’

1406–1413
(สุลต่าน อนาโตเลีย)
5 กรกฎาคม 1413
รัฐสุลต่านฟื้นฟู
5เมห์เหม็ดที่ 1
ÇELEBİ (ผู้อ่อนโยน)
KİRİŞÇİ (lit. The Bowstring Maker for his support)
5 กรกฎาคม 141326 มีนาคม 1421
6มูรัดที่ 2
KOCA (มหาราช)
25 มิถุนายน 14211444
7เมห์เหม็ดที่ 2
FĀTİḤ (ผู้พิชิต)
فاتح
14441446
  • โอรสมูรัดที่ 2 กับ ฮูมา ฮาตุน.[6]
  • ถวายบัลลังก์ให้พระราชบิดาหลังจากที่ขอให้พระองค์กลับสู่อำนาจพร้อมกับภัยคุกคามที่เพิ่มขึ้นจากจานิสซารี[18]
(6)มูรัดที่ 2
KOCA (มหาราช)
14463 กุมภาพันธ์ 1451
  • รัชกาลที่ 2;
  • ถูกบังคับให้กลับมาทรงราชย์เพื่อปราบปรามกบฏจานิสซารี[19]
  • ทรงราชย์ตลอดพระชนม์ชีพ
การขยายตัวของจักรวรรดิ
(1453 – 1550)
(7)เมห์เหม็ดที่ 2
KAYSER-İ RÛM (ซีซาร์แห่งโรมัน)
FĀTİḤ (ผู้พิชิต)
فاتح
3 กุมภาพันธ์ 14513 พฤษภาคม 1481
8บาเยซิดที่ 2
VELÎ (นักบุญ)
19 พฤษภาคม 148125 เมษายน 1512
9เซลิมที่ 1
YAVUZ (ผู้แข็งแกร่ง)
Hadim'ul Haramain'ish-Sharifain
(ผู้รับใช้แห่งเมกกะและเมดีนะ)
25 เมษายน 151221 กันยายน 1520
10สุลัยมานที่ 1
MUHTEŞEM (ผู้สง่างาม)

or KANÛNÎ (ผู้พระราชทานกฎหมาย)
قانونى

30 กันยายน 15206 หรือ 7 กันยายน 1566
การปฏิรูปจักรวรรดิออตโตมัน
(1550 – 1700)
11เซลิมที่ 2
SARI (บลอนด์)

MEST (ขี้เมา)

29 กันยายน 156621 ธันวาคม 1574
12มูรัดที่ 3 22 ธันวาคม 157416 มกราคม 1595
13เมห์เหม็ดที่ 3
ADLÎ (ผู้เที่ยงธรรม)
27 มกราคม 159520 หรือ 21 ธันวาคม 1603
14อะเหม็ดที่ 1
BAḪTī (ผู้โชคดี)
21 ธันวาคม 160322 พฤศจิกายน 1617
15มุสทาฟาที่ 1
DELİ (ผู้วิปลาส)
22 พฤศจิกายน 161726 กุมภาพันธ์ 1618
16ออสมันที่ 2
GENÇ (ผู้เยาว์)
ŞEHÎD (ผู้พลีชีพ)

شهيد
26 กุมภาพันธ์ 161819 พฤษภาคม 1622
(15)มุสทาฟาที่ 1
DELİ (ผู้วิปลาส)
20 พฤษภาคม 162210 กันยายน 1623
  • รัชกาลที่ 2;
  • กลับมาทรงราชย์หลัง ออสมันที่ 2 ถูกปลงพระชนม์
  • ถูกถอดเนื่องจากเสียพระจริต ทรงถูกคุมพระองค์จนกระทั่งสวรรคตที่อิสตันบุล 20 มกราคม 1639[28]
17มูรัดที่ 4
SAHİB-Î KIRAN
ผู้พิชิตแบกแดด
ĠĀZĪ (นักรบ)

غازى
10 กันยายน 16238 หรือ 9 กุมภาพันธ์ 1640
18อิบราฮิม
DELİ (ผู้วิปลาส)
ผู้พิชิตครีต
ŞEHÎD
9 กุมภาพันธ์ 16408 สิงหาคม 1648
19เมห์เหม็ดที่ 4
AVCI (ผู้ล่า)
ĠĀZĪ (นักรบ)
غازى
8 สิงหาคม 16488 พฤศจิกายน 1687
20สุลัยมานที่ 2
ĠĀZĪ (นักรบ)
8 พฤศจิกายน 168722 มิถุนายน 1691
21อะเหม็ดที่ 2
ḪĀN ĠĀZĪ (เจ้าชายนักรบ)
22 มิถุนายน 16916 กุมภาพันธ์ 1695
22มุสทาฟาที่ 2
ĠĀZĪ (นักรบ)
6 กุมภาพันธ์ 169522 สิงหาคม 1703
ยุคหยุดนิ่งและการปฏิรูปจักรวรรดิ
(1700 – 1827)
23อะเหม็ดที่ 3
สุลต่านสมัยทิวลิป
ĠĀZĪ (ขุนศึก)
22 สิงหาคม 17031 หรือ 2 ตุลาคม 1730
24มาห์หมุดที่ 1
ĠĀZĪ (นักรบ)
KAMBUR (ผู้หลังค่อม)
2 ตุลาคม 173013 ธันวาคม 1754
25ออสมันที่ 3
SOFU (ผู้มีความศรัทธา)
13 ธันวาคม 175429 หรือ 30 ตุลาคม 1757
26มุสทาฟาที่ 3
YENİLİKÇİ (ผู้สร้างนวัตกรรมแรก)
30 ตุลาคม 175721 มกราคม 1774
27อับดุล ฮามิดที่ 1
Abd ūl-Hāmīd (ผู้รับใช้พระเจ้า)
ISLAHATÇI (ผู้ปรับปรุง)
ĠĀZĪ (ขุนศึก)
21 มกราคม 17746 หรือ 7 เมษายน 1789
28เซลิมที่ 3
BESTEKÂR (คีตกวี)
NİZÂMÎ (เจ้าระเบียบ)
ŞEHÎD (ผู้พลีชีพ)
7 เมษายน 178929 พฤษภาคม 1807
29มุสทาฟาที่ 4 29 พฤษภาคม 180728 กรกฎาคม 1808
จักรวรรดิออตโตมันสมัยใหม่
(1827 – 1908)
30มาห์หมุดที่ 2
İNKILÂPÇI (นักปฏิรูป)
ĠĀZĪ (ขุนศึก)
28 กรกฎาคม 18081 กรกฎาคม 1839
31อับดุล เมจิดที่ 1
TANZİMÂTÇI
(The Strong Reformist or
The Advocate of Reorganization)

ĠĀZĪ (ขุนศึก)
1 กรกฎาคม 183925 มิถุนายน 1861
32อับดุล อะซีซ
BAḪTSIZ (ผู้โชคร้าย)
ŞEHĪD (ผู้พลีชีพ)
25 มิถุนายน 186130 พฤษภาคม 1876
  • โอรสมาห์หมุดที่ 2 กับ เปอร์เนฟนิยาล สุลต่าน
  • ถูกถอดโดยคณะเสนาบดี;
  • ถูกพบว่าสวรรคต (อัตวินิบาตกรรมหรือปลงพระชนม์) 5 วันต่อมา[45]
33มูรัดที่ 5 30 พฤษภาคม 187631 สิงหาคม 1876
34อับดุล ฮามิดที่ 2
Ulû Sultân Abd ūl-Hāmīd Khan

(The Sublime Khan)

31 สิงหาคม 187627 เมษายน 1909
35เมห์เหม็ดที่ 5
REŞÂD (Rashād)

(ผู้ตามทางที่แท้จริง)

27 เมษายน 19093 กรกฎาคม 1918
36เมห์เหม็ดที่ 6
VAHDETTİN (Wāhīd ād-Dīn)

(The Unifier of Dīn (Islam)หรือเอนกชนแห่ง อิสลาม)

4 กรกฎาคม 19181 พฤศจิกายน 1922
เคาะลีฟะฮ์ ภายใต้สาธารณรัฐ
(1 พฤศจิกายน 1922 – 3 มีนาคม 1924)
อับดุล เมจิดที่ 2 18 พฤศจิกายน 19223 มีนาคม 1924
[c]

ประมุขแห่งราชวงศ์ออสมันหลัง 1923 แก้

พระนามพระรูปสมัยความสัมพันธ์กับรัชกาลก่อน
36เมห์เหม็ดที่ 6 1922-1926สุลต่านออตโตมันพระองค์สุดท้าย (1918–1922)[53]
37อับดุล เมจิดที่ 2 1926-1944กาหลิปออตโตมันพระองค์สุดท้าย (1922–1924)[53]
38อาเหม็ด นิฮาด 1944-1954พระราชนัดดาในสุลต่านมูรัดที่ 5[53]
39ออสมัน ฟูอัด, 1954–1973พระอนุชาต่างพระชนนีในอาเหม็ดที่ 4 นิฮาด[53]
40เมห์เหม็ด อับดุลลาซิซ1973–1977พระราชนัดดาในสุลต่านอับดุล อะซีซ.[53]
41อาลี วาซิบ1977–1983พระราชโอรสในอาเหม็ดที่ 4 นิฮาด[53]
42เมห์เหม็ด ออร์ฮาน 1983–1994พระราชนัดดาในสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2[54]
43เออร์ตูกรุล ออสมัน),1994–2009พระราชนัดดาในสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2[55]
44บาเยซิด ออสมัน2009-2017พระราชปนัดดาในสุลต่านอับดุล เมจิดที่ 1[56]
45ดุนดาร์ อาลี ออสมัน2017-2021พระราชปนัดดาในสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2
46ฮารูน ออสมัน2021–ปัจจุบันพระราชปนัดดาในสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2


อ้างอิง แก้

  1. Stavrides 2001, p. 21
  2. Kafadar, Cemal (1995). Between Two Worlds: The Construction of the Ottoman State. p. 122. That they hailed from the Kayı branch of the Oğuz confederacy seems to be a creative "rediscovery" in the genealogical concoction of the fifteenth century. It is missing not only in Ahmedi but also, and more importantly, in the Yahşi Fakih-Aşıkpaşazade narrative, which gives its own version of an elaborate genealogical family tree going back to Noah. If there was a particularly significant claim to Kayı lineage, it is hard to imagine that Yahşi Fakih would not have heard of it.
    • Lowry, Heath (2003). The Nature of the Early Ottoman State. SUNY Press. p. 78. ISBN 0-7914-5636-6. Based on these charters, all of which were drawn up between 1324 and 1360 (almost one hundred fifty years prior to the emergence of the Ottoman dynastic myth identifying them as members of the Kayı branch of the Oguz federation of Turkish tribes), we may posit that...
    • Lindner, Rudi Paul (1983). Nomads and Ottomans in Medieval Anatolia. Indiana University Press. p. 10. In fact, no matter how one were to try, the sources simply do not allow the recovery of a family tree linking the antecedents of Osman to the Kayı of the Oğuz tribe. Without a proven genealogy, or even without evidence of sufficient care to produce a single genealogy to be presented to all the court chroniclers, there obviously could be no tribe; thus, the tribe was not a factor in early Ottoman history.
  3. Glazer 1996, "War of Independence"
  4. Finkel, Caroline (2007). Osman's dream : the history of the ottoman empire. Basic Books. p. 555. ISBN 9780465008506.
  5. Kafadar, Cemal (1995). Between Two Worlds: The Construction of the Ottoman State. pp. 60, 122.
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 6.7 Lowry, Heath (2003). The Nature of the Early Ottoman State. SUNY Press. p. 153.
  7. Finkel, Caroline (2007). Osman's dream : the history of the ottoman empire. Basic Books. p. 555. ISBN 9780465008506.
  8. "Sultan Orhan Gazi". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  9. Lambton, Ann; Lewis, Bernard (1995). The Cambridge History of Islam: The Indian sub-continent, South-East Asia, Africa and the Muslim west. Vol. 2. Cambridge University Press. p. 320. ISBN 9780521223102. สืบค้นเมื่อ 14 March 2015.
  10. "Sultan Murad Hüdavendigar Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  11. "Sultan Yıldırım Beyezid Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  12. Nicholae Jorga: Geschishte des Osmanichen (Trans :Nilüfer Epçeli) Vol 1 Yeditepe yayınları, İstanbul,2009,ISBN 975-6480 17 3 p 314
  13. Nicholae Jorga: Geschishte des Osmanichen (Trans :Nilüfer Epçeli) Vol 1 Yeditepe yayınları, İstanbul, 2009, ISBN 975-6480 17 3 p 314
  14. Joseph von Hammer: Osmanlı Tarihi cilt I (condensation: Abdülkadir Karahan), Milliyet yayınları, İstanbul. p 58-60.
  15. Prof. Yaşar Yüce-Prof. Ali Sevim: Türkiye tarihi Cilt II, AKDTYKTTK Yayınları, İstanbul, 1991 p 74-75
  16. Joseph von Hammer: Osmanlı Tarihi cilt I (condensation: Abdülkadir Karahan), Milliyet yayınları, İstanbul. p. 58-60.
  17. "Sultan Mehmed Çelebi Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  18. 18.0 18.1 "Chronology: Sultan II. Murad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-04-07.
  19. Kafadar 1996, p. xix
  20. "Chronology: Fatih Sultan Mehmed Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2010-07-15.
  21. "Sultan II. Bayezid Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  22. "Yavuz Sultan Selim Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  23. "Kanuni Sultan Süleyman Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  24. "Sultan II. Selim Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  25. "Sultan III. Murad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  26. "Sultan III. Mehmed Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  27. "Sultan I. Ahmed". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  28. 28.0 28.1 "Sultan I. Mustafa". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  29. "Sultan II. Osman Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  30. "Sultan IV. Murad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  31. "Sultan İbrahim Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  32. "Sultan IV. Mehmed". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  33. "Sultan II. Süleyman Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  34. "Sultan II. Ahmed Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  35. "Sultan II. Mustafa Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  36. "Sultan III. Ahmed Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  37. "Sultan I. Mahmud Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  38. "Sultan III. Osman Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  39. "Sultan III. Mustafa Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  40. "Sultan I. Abdülhamit Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  41. "Sultan III. Selim Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  42. "Sultan IV. Mustafa Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  43. "Sultan II. Mahmud Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  44. "Sultan Abdülmecid Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  45. "Sultan Abdülaziz Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  46. "Sultan V. Murad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  47. "Sultan II. Abdülhamid Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  48. "Sultan V. Mehmed Reşad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  49. "Sultan VI. Mehmed Vahdettin Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  50. As̜iroğlu 1992, p. 13
  51. As̜iroğlu 1992, p. 17
  52. As̜iroğlu 1992, p. 14
  53. 53.0 53.1 53.2 53.3 53.4 53.5 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ heirs
  54. Pope, Hugh. "Oldest Ottoman to come home at last", The Independent (22 July 1992).
  55. Bernstein, Fred. “Ertugrul Osman, Link to Ottoman Dynasty, Dies at 97”, The New York Times (24 September 2009).
  56. "'Osmanoğulları'na insanlık şehadet edecek' เก็บถาวร 14 มีนาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน", Zaman (27 September 2009).

บรรณานุกรม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

🔥 Top keywords: หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลเชลซีภาวะโลกร้อนพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณอนันต์ บุนนาคอสมทพิเศษ:ค้นหาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเฟซบุ๊กเข็มอัปสร สิริสุขะไทยลีกสโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลาสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดไบเออร์ 04 เลเวอร์คูเซินสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)เฮลล์คิทเช่นไทยแลนด์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิสโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตีสุภาพบุรุษจุฑาเทพพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)กองทัพ พีคอุดม แต้พานิชเอซี มิลานสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารีจังหวัดอุตรดิตถ์ซูเปอร์เซ็นไตซีรีส์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร