รายชื่อนายกรัฐมนตรีเยอรมนี

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

นี่คือรายนามนายกรัฐมนตรีแห่งรัฐชาติเยอรมนี ซึ่งระหว่าง ค.ศ. 1867 ถึง 1871 มีชื่อตำแหน่งทางการว่า นายกรัฐมนตรีสหพันธ์ (เยอรมัน: Bundeskanzler) ระหว่าง ค.ศ. 1871 ถึง 1933 มีชื่อตำแหน่งว่า นายกรัฐมนตรีไรช์ (Reichskanzler) และหลัง ค.ศ. 1949 มีชื่อตำแหน่งว่า นายกรัฐมนตรีสหพันธ์ (Bundeskanzler)

ภาพถ่ายของ อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค ใน ค.ศ. 1890
ภาพถ่ายของ ค็อนราท อาเดอเนาเออร์ ใน ค.ศ. 1952
ภาพถ่ายของ เฮ็ลมูท โคล ใน ค.ศ. 1996
ภาพถ่ายของ อังเกลา แมร์เคิล ใน ค.ศ. 2019

บุคคลที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดได้แก่ อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค ครองตำแหน่งยาวนานถึง 22 ปี 364 วัน บุคลที่ดำรงตำแหน่งสั้นที่สุดได้แก่ โยเซ็ฟ เกิบเบิลส์ ครองตำแหน่งเพียงหนึ่งวัน บุคคลที่ถึงแก่อสัญกรรมขณะครองตำแหน่งมีสองคนได้แก่ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และโยเซ็ฟ เกิบเบิลส์ ทั้งคู่อสัญกรรมจากการฆ่าตัวตาย

ในประเทศเยอรมนีตะวันออก หัวหน้ารัฐบาลไม่ได้ใช้ชื่อตำแหน่งว่านายกรัฐมนตรี (Kanzler) แต่ใช้ชื่อตำแหน่งว่า ประธานสภารัฐมนตรี (Vorsitzender des Ministerrats) ดังนั้น รายนามหัวหน้ารัฐบาลเยอรมนีตะวันออกจึงไม่รวมอยู่ในบทความนี้

นายกรัฐมนตรีสหพันธ์ (ยุคสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ; ค.ศ. 1867–1871)

แก้
ภาพชื่อ
(เกิด–ตาย)
ช่วงเวลาดำรงตำแหน่งพรรค
ดำรงตำแหน่งพ้นจากตำแหน่งระยะเวลา
กราฟ
อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค
(1815–1898)
1 กรกฎาคม
1867
21 มีนาคม
1871
3 ปี 263 วันไม่มี

นายกรัฐมนตรีไรช์ (ยุคจักรวรรดิ; ค.ศ. 1871–1918)

แก้

พรรคการเมือง

      พรรคกลาง      ไม่มี

ภาพชื่อ
(เกิด–ตาย)
ช่วงเวลาดำรงตำแหน่งพรรคชื่อคณะรัฐบาล
เข้ารับตำแหน่งพ้นจากตำแหน่งระยะเวลา
เฟือสท์
อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค
(1815–1898)
21 มีนาคม
1871
20 มีนาคม
1890
18 ปี 364 วันไม่มีบิสมาร์ค
กราฟ
เลโอ ฟ็อน คาพรีวี
(1831–1899)
20 มีนาคม
1890
26 ตุลาคม
1894
4 ปี 220 วันไม่มีคาพรีวี
เฟือสท์
โคลทวิชแห่งโฮเอินโลเออ-ชิลลิงส์เฟือสท์
(1819–1901)
29 ตุลาคม
1894
17 ตุลาคม
1900
5 ปี 353 วันไม่มีโฮเอินโลเออ-ชิลลิงส์เฟือสท์
เฟือสท์
แบร์นฮาร์ท ฟ็อน บือโล
(1849–1929)
17 ตุลาคม
1900
14 กรกฎาคม
1909
8 ปี 270 วันไม่มีบือโล
เทโอบัลท์ ฟ็อน เบทมัน-ฮ็อลเวค
(1856–1921)
14 กรกฎาคม
1909
13 กรกฎาคม
1917
7 ปี 364 วันไม่มีเบทมัน-ฮ็อลเวค
เกออร์ค มิชชาเอลิส
(1857–1936)
14 กรกฎาคม
1917
1 พฤศจิกายน
1917
0 ปี 110 วันไม่มีMichaelis
กราฟ
เกออร์ค ฟ็อน แฮร์ทลิง
(1843–1919)
1 พฤศจิกายน
1917
30 กันยายน
1918
0 ปี 333 วันพรรคกลางแฮร์ทลิง
เจ้าชาย
มัคซีมีลีอานแห่งบาเดิน
(1867–1929)
3 ตุลาคม
1918
9 พฤศจิกายน
1918
0 ปี 37 วันไม่มีบาเดิน

นายกรัฐมนตรีไรช์ (ยุคปฏิวัติ; ค.ศ. 1919)

แก้

พรรคการเมือง

      SPD

ภาพชื่อ
(เกิด–ตาย)
ช่วงเวลาดำรงตำแหน่งพรรคชื่อคณะรัฐบาล
เข้ารับตำแหน่งพ้นจากตำแหน่งระยะเวลา
ฟรีดริช เอเบิร์ท
(1871–1925)
นายกรัฐมนตรีไรช์และ
ประธานคณะมนตรีผู้แทนราษฎร)
9 พฤศจิกายน
1918
13 กุมภาพันธ์
1919
0 ปี 96 วันพรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนีคณะมนตรีผู้แทนราษฎร

นายกรัฐมนตรีไรช์ (ยุคสาธารณรัฐไวมาร์; ค.ศ. 1919–1933)

แก้

พรรคการเมือง

      SPD      พรรคกลาง      DVP      DDP      DNVP      ไม่มี

ภาพชื่อ
(เกิด–ตาย)
ช่วงเวลาดำรงตำแหน่งพรรคชื่อคณะรัฐบาลไรชส์ทาค
เข้ารับตำแหน่งพ้นจากตำแหน่งระยะเวลา
ฟิลลิพ ไชเดอมัน
(1865–1939)
(มุขมนตรีไรช์) [a]
13 กุมภาพันธ์
1919
20 มิถุนายน
1919
0 ปี 127 วันพรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนีไชเดอมันNat.Ass.
(1919)
กุสทัฟ เบาเออร์
(1870–1944)
มุขมนตรีไรช์;
นายกรัฐมนตรีไรช์ตั้งแต่ 14 สิงหาคม 1919 [a]
21 มิถุนายน
1919
26 มีนาคม
1920
0 ปี 279 วันพรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนีBauer
แฮร์มัน มึลเลอร์
(1876–1931)
27 มีนาคม
1920
21 มิถุนายน
1920
0 ปี 86 วันพรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนีMüller I
คอนชตันทีน เฟเรินบัค
(1852–1926)
25 มิถุนายน
1920
4 พฤษภาคม
1921
0 ปี 313 วันพรรคกลางFehrenbach1
(1920)
โยเซ็ฟ เวียร์ท
(1879–1956)
10 พฤษภาคม
1921
14 พฤศจิกายน
1922
1 ปี 188 วันพรรคกลางWirth I
Wirth II
วิลเฮ็ล์ม คูโน
(1876–1933)
22 พฤศจิกายน
1922
12 สิงหาคม
1923
0 ปี 263 วันไม่มีCuno
กุสทัฟ ชเตรเซอมัน
(1878–1929)
13 สิงหาคม
1923
30 พฤศจิกายน
1923
0 ปี 109 วันพรรคประชาชนเยอรมันStresemann I
Stresemann II
วิลเฮ็ล์ม มาคส์
(1863–1946)
30 พฤศจิกายน
1923
15 มกราคม
1925
1 ปี 46 วันพรรคกลางMarx I
Marx II2
(พฤษภาคม.1924)
ฮันส์ ลุทเทอร์
(1879–1962)
15 มกราคม
1925
12 พฤษภาคม
1926
1 ปี 117 วันไม่มีLuther I3
(ธ.ค. 1924)
Luther II
วิลเฮ็ล์ม มาคส์
(1863–1946)
17 พฤษภาคม
1926
12 มิถุนายน
1928
2 ปี 26 วันพรรคกลางMarx III
Marx IV
แฮร์มัน มึลเลอร์
(1876–1931)[b]
28 มิถุนายน
1928
27 มีนาคม
1930
1 ปี 272 วันพรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนีMüller II4
(1928)
ไฮน์ริช บรือนิง
(1885–1970)[c]
30 มีนาคม
1930
30 พฤษภาคม
1932
2 ปี 61 วันพรรคกลางBrüning I5
(1930)
Brüning II
ฟรันทซ์ ฟ็อน พาเพิน
(1879–1969)[c]
1 มิถุนายน
1932
17 พฤศจิกายน
1932
0 ปี 169 วันไม่มีPapen6
(Jul.1932)
ควร์ท ฟ็อน ชไลเชอร์
(1882–1934)[c]
3 ธันวาคม
1932
28 มกราคม
1933
0 ปี 56 วันไม่มีSchleicher7
(Nov.1932)
  1. 1.0 1.1 ไม่ได้ใช้ชื่อตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจนกระกว่ารัฐธรรมนูญบังคับใช้ ไชเดอมันและเบาเออร์จึงมีตำแหน่งเป็นมุขมนตรีไรช์ (Reichsministerpräsident) ซึ่งเป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารเช่นกัน
  2. มึลเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีไรช์คนสุดท้ายที่ถูกแต่งตั้งโดยเสียงข้างมากในสภา
  3. 3.0 3.1 3.2 นายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้รับเลือกจากสภา, แต่งตั้งโดย ประธานาธิบดีไรช์ เพาล์ ฟ็อน ฮินเดินบวร์ค หลังไม่สามารถจัดตั้งเสียงข้างมากได้

นายกรัฐมนตรีไรช์ (ยุคนาซี; ค.ศ. 1933–1945)

แก้

พรรคการเมือง

      พรรคนาซี

ภาพชื่อ
(เกิด–ตาย)
ช่วงเวลาดำรงตำแหน่งพรรคชื่อคณะรัฐบาลไรชส์ทาค[a]
เข้ารับตำแหน่งพ้นจากตำแหน่งระยะเวลา
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
(1889–1945) [b][c]
(ฟือเรอร์และนายกรัฐมนตรีไรช์ ตั้งแต่ 2 สิงหาคม 1934)
30 มกราคม
1933
30 เมษายน
1945
12 ปี 90 วันพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมันฮิตเลอร์8 (มี.ค. 1933)
9 (พ.ย. 1933)
10 (มี.ค. 1936)
11 (เม.ย. 1938)
โยเซ็ฟ เกิบเบิลส์
(1897–1945)[c][d]
30 เมษายน
1945
1 พฤษภาคม
1945
0 ปี 1 วันพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมันฮิตเลอร์
ลุทซ์ กราฟ ชเวรีน ฟ็อน โครซิค
(1887–1977)
(ประธานที่ประชุมครม.เฟล็นส์บวร์ค)[e][f]
2 พฤษภาคม
1945
23 พฤษภาคม
1945
0 ปี 21 วันพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมันชเวรีน ฟ็อน โครซิค
  1. ไม่มีการเลือกตั้งเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สอง ครั้งสุดท้ายจัดเมื่อ 26 เมษายน 1942
  2. นายกรัฐมนตรีที่ไม่ได้รับเลือกจากสภา, แต่งตั้งโดย ประธานาธิบดีไรช์ เพาล์ ฟ็อน ฮินเดินบวร์ค หลังไม่สามารถจัดตั้งเสียงข้างมากในสภาได้
  3. 3.0 3.1 ฆ่าตัวตายในฟือเรอร์บุงเคอร์
  4. แต่งตั้งโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ตามที่ระบุใน พินัยกรรมทางการเมือง
  5. แต่งตั้งโดย ประธานาธิบดีไรช์ คาร์ล เดอนิทซ์ หลังเกิบเบิลส์ฆ่าตัวตาย
  6. ถูกควบคุมตัว; รัฐบาลสิ้นสภาพ[1]

นายกรัฐมนตรีสหพันธ์ (ยุคสหพันธ์สาธารณรัฐ; ค.ศ. 1949–ปัจจุบัน)

แก้

พรรคการเมือง

      CDU      SPD      FDP

ภาพชื่อ
(เกิด–ตาย)
ช่วงเวลาดำรงตำแหน่งพรรคชื่อคณะรัฐบาลBundestag
เข้ารับตำแหน่งพ้นจากตำแหน่งระยะเวลา
ค็อนราท อาเดอเนาเออร์
(1876–1967)
15 กันยายน
1949
20 ตุลาคม
1953
14 ปี 30 วันสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน
(CDU)
Adenauer I
CDU/CSUFDPDP
1 (1949)
20 ตุลาคม
1953
29 ตุลาคม
1957
Adenauer II
CDU/CSUFDP/FVPDPGB/BHE
2 (1953)
29 ตุลาคม
1957
14 พฤศจิกายน
1961
Adenauer III
CDU/CSUDP
3 (1957)
14 พฤศจิกายน
1961
13 ธันวาคม
1962
Adenauer IV
CDU/CSUFDP
4 (1961)
14 ธันวาคม
1962
15 ตุลาคม
1963
Adenauer V
CDU/CSUFDP
ลูทวิช แอร์ฮาร์ท
(1897–1977)
16 ตุลาคม
1963
26 ตุลาคม
1965
3 ปี 45 วันไม่สังกัดพรรค;[2]
แต่ภายหลังเข้าสังกัด

สหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน
(CDU)
Erhard I
CDU/CSUFDP
26 ตุลาคม
1965
30 พฤศจิกายน
1966
Erhard II
CDU/CSUFDP
5 (1965)
ควร์ท เกออร์ค คีซิงเงอร์
(1904–1988)
1 ธันวาคม
1966
21 ตุลาคม
1969
2 ปี 324 วันสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน
(CDU)
Kiesinger
CDU/CSUSPD
วิลลี บรันท์
(1913–1992)
22 ตุลาคม
1969
15 ธันวาคม
1972
4 ปี 197 วันพรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนี
(SPD)
Brandt I
SPDFDP
6 (1969)
15 ธันวาคม
1972
7 พฤษภาคม
1974
Brandt II
SPDFDP
7 (1972)
วัลเทอร์ เชล
(1919–2016)
รักษาการนายกรัฐมนตรี[a]
7 พฤษภาคม
1974
16 พฤษภาคม
1974
0 ปี 9 วันพรรคเสรีประชาธิปไตย
(FDP)
(acting)
เฮ็ลมูท ชมิท
(1918–2015)
16 พฤษภาคม
1974
14 ธันวาคม
1976
8 ปี 138 วันพรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนี
(SPD)
Schmidt I
SPDFDP
16 ธันวาคม
1976
4 พฤศจิกายน
1980
Schmidt II
SPDFDP
8 (1976)
6 พฤศจิกายน
1980
1 ตุลาคม
1982
Schmidt III
SPDFDP
9 (1980)
เฮ็ลมูท โคล
(1930–2017)
1 ตุลาคม
1982
29 มีนาคม
1983
16 ปี 26 วันสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน
(CDU)
Kohl I
CDU/CSUFDP
30 มีนาคม
1983
11 มีนาคม
1987
Kohl II
CDU/CSUFDP
10 (1983)
12 มีนาคม
1987
18 มกราคม
1991
Kohl III
CDU/CSUFDP
11 (1987)
18 มกราคม
1991
17 พฤศจิกายน
1994
Kohl IV
CDU/CSUFDP
12 (1990)
17 พฤศจิกายน
1994
27 ตุลาคม
1998
Kohl V
CDU/CSUFDP
13 (1994)
แกร์ฮาร์ท ชเรอเดอร์
(1944–)
27 ตุลาคม
1998
22 ตุลาคม
2002
7 ปี 26 วันพรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนี
(SPD)
Schröder I
SPDGreen
14 (1998)
22 ตุลาคม
2002
22 พฤศจิกายน
2005
Schröder II
SPDGreen
15 (2002)
อังเกลา แมร์เคิล
(1954–)
22 พฤศจิกายน
2005
28 ตุลาคม
2009
16 ปี 16 วันสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน
(CDU)
Merkel I
CDU/CSUSPD
16 (2005)
28 ตุลาคม
2009
17 ธันวาคม
2013
Merkel II
CDU/CSUFDP
17 (2009)
17 ธันวาคม
2013
14 มีนาคม
2018
Merkel III
CDU/CSUSPD
18 (2013)
14 มีนาคม
2018
8 ธันวาคม
2021
Merkel IV
CDU/CSUSPD
19 (2017)
โอลัฟ ช็อลทซ์
(1958–)
8 ธันวาคม
2021
อยู่ในตำแหน่ง2 ปี 193 วันพรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนี
(SPD)
Scholz
SPDGreensFDP
17 (2021)
  1. รักษาการในตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีภายหลังบรันท์ลาออก[3]

อ้างอิง

แก้
  1. Hillmann, Jörg; Zimmermann, John (2014) [2002]. "Die »Reichsregierung« in Flensburg" [The "Government" in Flensburg]. Kriegsende 1945 in Deutschland (ภาษาเยอรมัน). Munich: Walter de Gruyter GmbH & Co KG. pp. 35–65. ISBN 978-3-486-83332-4.
  2. Jörges, Hans Ulrich; Wüllenweber, Walter (25 เมษายน 2007). "CDU-Altkanzler: Ludwig Erhard war nie CDU-Mitglied" (ภาษาเยอรมัน). Der Stern. สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2018.
  3. McFadden, Robert D. (24 สิงหาคม 2016). "Walter Scheel, Leading Figure in West German Thaw With the East, Dies at 97". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2018.
🔥 Top keywords: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลหน้าหลักวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024หม่อมเจ้าเฉลิมศึก ยุคลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีพิเศษ:ค้นหาพุ่มพวง ดวงจันทร์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปพระสุนทรโวหาร (ภู่)ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024หม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยหม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคลอสมทหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวสไปร์ท (แร็ปเปอร์)ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467อันดับโลกเอฟไอวีบีหม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคลศรีสว่างวงศ์ บุญจิตราดุลย์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการเฌอมาวีร์ สุวรรณภาณุโชคพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลราชวงศ์จักรีอีดิลอัฎฮารัชทายาทโดยสันนิษฐานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าฟุตบอลทีมชาติเนเธอร์แลนด์วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย