ไอโซพอด

ไอโซพอด (อังกฤษ: isopod) เป็นสัตว์จำพวกครัสเตเชียนกลุ่มที่มีความหลากหลายมากที่สุดชนิดหนึ่ง พบอาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมทุกรูปแบบ แต่จะพบได้มากที่สุดในทะเลน้ำตื้น สัตว์กลุ่มนี้มีความแตกต่างไปจากครัสเตเชียนส่วนใหญ่ เพราะสามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมบนบกได้ดี (อันดับย่อย Oniscidia ได้แก่ เหาไม้ และแมลงสาบทะเล) แม้ว่าพบได้หลากหลายที่สุดในทะเลลึกก็ตาม (อันดับย่อย Asellota) มีหลายสปีชีส์ในจีนัส Cymothoa ที่ดำรงชีวิตเป็นปรสิตในช่องปากของปลา รู้จักกันในชื่อว่า "ตัวกัดลิ้น" (Tongue biter) สัตว์ในกลุ่มไอโซพอดจัดว่าเป็นสัตว์ดึกดำบรรพ์ที่พบฟอสซิลตั้งแต่ในยุคคาร์บอนิเฟอรัส (อันดับย่อย Phreatoicidea วงศ์ Paleophreatoicidae) ซึ่งแตกต่างเพียงเล็กน้อยไปจากกลุ่ม Phreatoicidean ยุคใหม่ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืดทางซีกโลกใต้

ไอโซพอด
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ยุคคาร์บอนิเฟอรัสตอนปลาย–ปัจจุบัน 300–0Ma
Eurydice pulchra
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน:ยูแคริโอต
อาณาจักร:สัตว์
ไฟลัม:สัตว์ขาปล้อง
ไฟลัมย่อย:Crustacea
ชั้น:Malacostraca
อันดับใหญ่:Peracarida
อันดับ:ไอโซพอด
Latreille, 1817 [1]
อันดับย่อย

อ้างอิง แก้

  1. "Isopoda". WoRMS. World Register of Marine Species. 2014. สืบค้นเมื่อ 8 May 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

🔥 Top keywords: หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระสุนทรโวหาร (ภู่)อสมทดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)เทศกาลไหว้บ๊ะจ่างพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัววอลเลย์บอลราชวงศ์จักรีสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีตารางธาตุพิธา ลิ้มเจริญรัตน์อริยสัจ 4ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปอาณาจักรสุโขทัยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรอาณาจักรอยุธยานิราศภูเขาทองพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรายชื่อเครื่องดนตรีณพสิน แสงสุวรรณพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพิธีไหว้ครูประเทศไทยรอยรักรอยบาปพระอภัยมณีในวันที่ฝนพร่างพรายฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024ประเทศฝรั่งเศสพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชกติกาฟุตบอลรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสงครามโลกครั้งที่สองทวีปยุโรปจารึกพ่อขุนรามคำแหง