สถานีตลาดพลู

สถานีเชื่อมต่อของรถไฟฟ้าสายสีเขียวและรถโดยสารด่วนพิเศษ (บีอาร์ที)

สถานีตลาดพลู (อังกฤษ: Talat Phlu station; รหัส: S10) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับในเส้นทางสายสีลมส่วนต่อขยายแยกตากสิน–บางหว้า โดยสถานียกระดับเหนือถนนราชพฤกษ์บริเวณทางแยกรัชดา-ราชพฤกษ์ฝั่งมุ่งหน้าถนนเพชรเกษม ในพื้นที่เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สถานีแห่งนี้สามารถเชื่อมต่อกับสถานีราชพฤกษ์ของรถโดยสารด่วนพิเศษ (บีอาร์ที) สายสาทร–ราชพฤกษ์ได้ และตั้งอยู่ไม่ไกลจากย่านตลาดพลูที่อยู่ถัดออกไปบริเวณใต้สะพานรัชดาภิเษกข้ามคลองบางกอกใหญ่และทางรถไฟสายแม่กลองซึ่งเป็นย่านการค้าและชุมชนเก่าแก่ของฝั่งธนบุรี

ตลาดพลู
S10

Talat Phlu
มุมมองสถานีจากถนนกรุงธนบุรี
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนราชพฤกษ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°42′47″N 100°28′32″E / 13.71306°N 100.47556°E / 13.71306; 100.47556
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
การเชื่อมต่อ รถโดยสารประจำทาง
ราชพฤกษ์
ตลาดพลู
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีS10
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556; 11 ปีก่อน (2556-02-14)[1]
ชื่อเดิมรัชดา–ราชพฤกษ์
ผู้โดยสาร
25641,043,787
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอสสถานีต่อไป
โพธิ์นิมิตรสายสีลมวุฒากาศ
มุ่งหน้า บางหว้า
การเชื่อมต่ออื่น
สถานีก่อนหน้า รถโดยสารด่วนพิเศษ สถานีต่อไป
สะพานพระราม 3
มุ่งหน้า สาทร
 สายสาทร–ราชพฤกษ์
เชื่อมต่อที่ ราชพฤกษ์
 สถานีปลายทาง
ที่ตั้ง
แผนที่

ที่ตั้ง แก้

สถานีตลาดพลูตั้งอยู่เหนือถนนราชพฤกษ์ ด้านทิศตะวันตกของทางแยกรัชดา–ราชพฤกษ์ ข้างซ้ายของสะพานข้ามแยกฝั่งมุ่งหน้าถนนเพชรเกษม บริเวณจุดตัดซอยเทอดไท 33 (วัดบางสะแก) ก่อนถึงสะพานข้ามคลองบางสะแก ในพื้นที่แขวงดาวคะนอง เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร

ในขณะที่เส้นทางนี้ยังเป็นเพียงโครงการ สถานีแห่งนี้มีชื่อว่า "สถานีรัชดาภิเษกฝั่งใต้" เพื่ออ้างอิงถึงถนนรัชดาภิเษกฝั่งใต้ และ "สถานีรัชดา–ราชพฤกษ์" ตามชื่อทางแยกรัชดา–ราชพฤกษ์ตามลำดับ แต่ภายหลังก็มีประกาศเปลี่ยนชื่อเป็น "สถานีตลาดพลู" เพื่อสื่อถึงย่านตลาดพลูในปัจจุบัน

สถานีแห่งนี้เปิดทำการอย่างไม่เป็นทางการเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 โดยเปิดให้บริการเพียงแค่ใช้ชานชาลา 3 ในการรับ–ส่งผู้โดยสารชั่วคราวจากวงเวียนใหญ่–โพธิ์นิมิตร–ตลาดพลู และเป็นสถานีปลายทางชั่วคราวในขณะที่สถานีวุฒากาศและสถานีบางหว้ายังสร้างไม่เสร็จ แต่หลังจากเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556 สถานีนี้ก็ไม่ได้เป็นสถานีปลายทางอีกต่อไป เพราะส่วนต่อขยายตากสิน–บางหว้าสร้างเสร็จทั้งโครงการแล้ว[2]

แผนผังของสถานี แก้

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 3สายสีลม มุ่งหน้า บางหว้า (วุฒากาศ)
ชานชาลา 4สายสีลม มุ่งหน้า สนามกีฬาแห่งชาติ (โพธิ์นิมิตร)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสารทางออก 1–4, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร
G
ระดับถนน
-ป้ายรถประจำทาง

รูปแบบของสถานี แก้

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง โดยเชื่อมปิดหลังคาทั้งหมด โดยชานชาลา 4 มีความกว้างน้อยกว่าปกติ เนื่องจากติดทางยกระดับถนนราชพฤกษ์ จึงทำให้ต้องออกแบบทางเข้า–ออกไปชั้นจำหน่ายตั๋วต้องสร้างแบบเลยพื้นที่สถานี

ทางเข้า-ออก แก้

  • 1 ซอยเทอดไท 33
  • 2 ซอยเทอดไท 33 (บันไดเลื่อน)
  • 3 ถนนรัชดาภิเษก (บันไดเลื่อน)
  • 4 สถานีรถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ที

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 1 บริเวณคาซ่า คอนโด รัชดา–ราชพฤกษ์ และทางออก 2

เวลาให้บริการ แก้

ปลายทางขบวนรถขบวนแรกขบวนสุดท้าย
สายสีลม[3]
ชานชาลาที่ 3
S12บางหว้าเต็มระยะ05.5200.35
ชานชาลาที่ 4
W1สนามกีฬาแห่งชาติเต็มระยะ05.3423.54
ขบวนสุดท้ายเชื่อมต่อสายสุขุมวิท23.39
S7กรุงธนบุรีรถเสริมบางหว้า–กรุงธนบุรี00.04

สถานีรถไฟทางไกล สถานีตลาดพลู แก้

สถานีรถไฟตลาดพลู เป็นสถานีรถไฟระดับ 4 ของทางรถไฟสายแม่กลอง อยู่ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 1.78 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ถนนริมทางรถไฟและถนนเทอดไทในพื้นที่แขวงตลาดพลู เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร[4] สถานีรถไฟตลาดพลูเป็นสถานีรถไฟที่ไม่มีทางหลีก

รถโดยสารประจำทาง แก้

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

สีส้มแดง : เขตการเดินรถที่ 4
สีชมพู : เขตการเดินรถที่ 5
สีเหลือง : เขตการเดินรถที่ 6


รถเอกชน

สีกรมท่า : เส้นทางของ บจก.ไทยสมายล์บัส (และบริษัทในเครือ)

ถนนรัชดาภิเษก แก้

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ แก้

  • เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่จุดเริ่มต้นจุดสิ้นสุดประเภทของรถที่ให้บริการผู้ให้บริการหมายเหตุ
15 (2) BRT ราชพฤกษ์บางลำภู1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก.
68 (3) อู่แสมดำบางลำภู1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
สมุทรสาคร1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

BRT ราชพฤกษ์คลองพิทยาลงกรณ์1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
101 (2) อู่บรมราชชนนีวัดยายร่ม
195 (2) อู่กัลปพฤกษ์ อู่คลองเตย
205 (3-51) (1) อู่คลองเตยเดอะมอลล์ท่าพระ1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ตลาดคลองเตย

ถนนเทอดไท แก้

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ แก้

  • เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่จุดเริ่มต้นจุดสิ้นสุดประเภทของรถที่ให้บริการผู้ให้บริการหมายเหตุ
4 (1) ท่าเรือคลองเตยท่านํ้าภาษีเจริญขสมก.1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-นํ้าเงิน

111 (2)วงกลม: เจริญนครตลาดพลู1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

ถนนรัชดาภิเษก แก้

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ แก้

  • เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่จุดเริ่มต้นจุดสิ้นสุดเส้นทางเวลาเดินรถเที่ยวแรก (ต้นทาง)เวลาเดินรถเที่ยวแรก (BRT ราชพฤกษ์)เวลาเดินรถเที่ยวสุดท้าย (ต้นทาง)เวลาเดินรถเที่ยวสุดท้าย (BRT ราชพฤกษ์)ประเภทของรถที่ให้บริการผู้ให้บริการหมายเหตุ
15 (2) BRT ราชพฤกษ์บางลำภู

15
BRT ราชพฤกษ์
เดอะมอลล์ท่าพระ
บุคคโล
ถนนตก
เอเชียทีค
บางรัก
สีลม
ศาลาแดง
สวนลุมฯ
เซ็นทรัลเวิลด์
สยาม
มาบุญครอง
ยศเส
คลองถม
วัดสระเกศ
คอกวัว
สนามหลวง
ข้าวสาร
บางลำพู

04:00 น.04:50 น.22:00 น.22:50 น.1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก.
68 (3)คลองพิทยาลงกรณ์/ม.จ.ธ

68
(มจธ.)
BRT ราชพฤกษ์
เดอะมอลล์ท่าพระ
ดาวคะนอง
บางปะแก้ว
พระราม 2
ขนส่งหัวกระบือ
รพ.ผู้สูงอายุบางขุนเทียน
วัดลูกวัว
ม.จ.ธ

04:00 น.05:00 น.18:40 น.19:40 น.1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
ถนนรัชดาภิเษก
สายที่ต้นทางปลายทางหมายเหตุ
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
68อู่แสมดำบางลำพู
68 ปอ.สมุทรสาครบางลำพูมีรถให้บริการทั้งหมด 9 คัน
101อู่บรมราชชนนีวัดยายร่ม
195เดอะมอลล์ท่าพระคลองเตย
205เดอะมอลล์ท่าพระคลองเตย
205 ปอ.เดอะมอลล์ท่าพระคลองเตย
209วงกลมกัลปพฤกษ์พระราม 2มีรถให้บริการน้อย,มีทั้งรถวนซ้ายและรถวนขวา
รถเอกชนร่วมบริการ
4-41 (57R)วงกลมตลิ่งชันวงเวียนใหญ่
4-17 (88)BTS ตลาดพลูมจธ.บางขุนเทียน
108วงกลมเดอะมอลล์ท่าพระอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิมีรถให้บริการน้อย
(4-25) 147วงกลมเคหะธนบุรีท่าพระ
4-63 (547)บ้านเอื้ออาทรศาลายาถนนตก
3-54ตลาดพลูอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิมีรถให้บริการน้อย
ถนนรัชดาภิเษก
สายที่ต้นทางปลายทางหมายเหตุ
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
68BRT ราชพฤกษ์มจธ.บางขุนเทียน
  • ถนนราชพฤกษ์ (บริเวณสถานีบีอาร์ทีราชพฤกษ์) รถขสมก. สาย 68 101
  • ถนนรัชดาภิเษก รถขสมก. สาย 15 68 101 195 205 209 รถเอกชน 57 108 147 547

จุดเชื่อมต่อการเดินทาง แก้

สถานที่สำคัญใกล้เคียง แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "12ม.ค.56 BTS ถึงตลาดพลู ต้องเปลี่ยนรถที่วงเวียนใหญ่ก่อน-คนกรุงเฮทดลองใช้ฟรี". 30 November 2012. สืบค้นเมื่อ 21 June 2014.
  2. "เปิดใช้สถานีรถไฟฟ้าเพิ่มอีก 2 สถานี". 5 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 21 June 2014.
  3. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.
  4. "รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถ สายแม่กลอง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-28. สืบค้นเมื่อ 2009-08-28.
🔥 Top keywords: สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีหน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยอันดับโลกเอฟไอวีบีวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024พิเศษ:ค้นหาอสมทจังหวัดชัยนาทเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 6วิษณุ เครืองามบางกอกคณิกาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัววอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)วอลเลย์บอลพระสุนทรโวหาร (ภู่)สรพงศ์ ชาตรีพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวราณี แคมเปน4 KINGS 2รอยรักรอยบาปพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)ราชวงศ์จักรีประเทศไทยเขื่อนเจ้าพระยายูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2024ณัฐณิชา ใจแสนเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวอริยสัจ 4ประวัติศาสตร์รายชื่อเครื่องดนตรีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชวิทยุเสียงอเมริกาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติฝรั่งเศสมิลลิ (แร็ปเปอร์)อาณาจักรอยุธยาประวัติศาสตร์ไทย