รางวัลแมนบุคเคอร์

รางวัลแมนบุคเคอร์สำหรับนวนิยาย หรือเรียกสั้นๆ ว่า รางวัลแมนบุคเคอร์ หรือ รางวัลบุคเคอร์ (ภาษาอังกฤษ: Man Booker Prize for Fiction หรือ Booker Prize) เป็นรางวัลสาขาวรรณกรรมที่มอบให้แก่ผู้ที่ได้รับการตัดสินว่าเป็นนวนิยายดีเด่นประจำปีที่เขียนเป็นภาษาอังกฤษสำหรับนักเขียนที่มีเป็นประชาชนของเครือจักรภพแห่งชาติ หรือสาธารณรัฐไอร์แลนด์

รางวัลนี้มักจะนำชื่อเสียงมาสู่ผู้เขียนและมีความสำคัญต่อกิจการการค้าขายหนังสือ[1] นอกจากนั้นก็ยังมีการแบ่งแยกระหว่างนักประพันธ์ผู้เข้ารอบ (Booker longlist) และผู้เข้ารอบสุดท้าย (Booker short list) ในปี ค.ศ. 1993 ก็ได้มีการให้รางวัล “หนังสือบุคเคอร์ของรางวัลบุคเคอร์” ซึ่งเป็นหนังสือที่ได้รับการตัดสินว่าเป็นหนังสือดีเด่นในบรรดาหนังสือที่ได้รับรางวัลแล้วในช่วงเวลายี่สิบห้าปีที่ผ่านมาแก่ซัลมัน รัชดี สำหรับหนังสือเรื่อง “Midnight's Children” ที่เคยได้รับรางวัลแล้วในปี ค.ศ. 1981[2][3]

ประวัติ แก้

รางวัลแมนบุคเคอร์เดิมชื่อว่า “รางวัลบุคเคอร์-แม็คคอนเนลล์” ตามชื่อบริษัทบุคเคอร์-แม็คคอนเนลล์ (Booker-McConnell) ผู้เป็นผู้เริ่มอุปถัมภ์รางวัลในปี ค.ศ. 1968 และเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อ “รางวัลบุคเคอร์” หรือ “บุคเคอร์” เมื่อการบริหารรางวัลโอนไปเป็นของมูลนิธิรางวัลบุคเคอร์ในปี ค.ศ. 2002 นามของผู้อุปถัมภ์กลายเป็นบริษัทการลงทุนบริษัทแมนกรุ้พ (Man Group plc) ที่เลือกทิ้งคำว่า “บุคเคอร์” เป็นส่วนหนึ่งของชื่อรางวัล เดิมจำนวเงินรางวัลเป็นจำนวนเงิน £21,000 แต่ เพิ่มขึ้นเป็น £50,000 ในปี ค.ศ. 2002

การตัดสิน แก้

การตัดสินผู้ได้รับรางวัลเริ่มด้วยการตั้งคณะกรรมการที่รวมทั้งนักประพันธ์คนหนึ่ง, ผู้แทนสำนักพิมพ์สองคน, ผู้แทนนักประพันธ์คนหนึ่ง, ผู้ขายหนังสือคนหนึ่ง, บรรณารักษ์คนหนึ่ง และประธานที่แต่งตั้งโดยมูลนิธิรางวัลบุคเคอร์ คณะกรรมการมีหน้าที่เลือกกรรมการผู้ตัดสินซึ่งเปลี่ยนสมาชิกทุกปีและมักจะไม่ได้รับเลือกซ้ำ ผู้ตัดสินเลือกจากนักวิจารณ์หนังสือมีชื่อ, นักเขียน, นักวิชาการ และบุคคลสำคัญ การประกาศผู้ได้รับรางวัลมักจะทำกันที่กิลด์ฮอลล์ในกรุงลอนดอน

ผู้ได้รับรางวัล แก้

YearAuthorCountryTitle
ค.ศ. 1969พี เอช นิวบี
(P. H. Newby)
สหราชอาณาจักร“Something to Answer For”
ค.ศ. 1970เบอร์นิส รูเบนส์
(Bernice Rubens)
สหราชอาณาจักร“The Elected Member”
ค.ศ. 1971วี เอส ไนพอล
(V. S. Naipaul)
ประเทศตรินิแดดและโตเบโก/สหราชอาณาจักร“In a Free State”
ค.ศ. 1972จอห์น เบอร์เกอร์
(John Berger)
สหราชอาณาจักร“G”
ค.ศ. 1973เจมส์ กอร์ดอน ฟาร์เรลล์
(James Gordon Farrell)
สหราชอาณาจักร“The Siege of Krishnapur”
ค.ศ. 1974นาดีน กอร์ดิเมอร์ (Nadine Gordimer)
แสตนลีย์ มิดเดิลตัน (Stanley Middleton)
ประเทศแอฟริกาใต้
สหราชอาณาจักร
“The Conservationist”
“Holiday”
ค.ศ. 1975รูธ พราวเวอร์ จฮาบ์วาลา
(Ruth Prawer Jhabvala)
สหราชอาณาจักร/ประเทศเยอรมนี“Heat and Dust”
ค.ศ. 1976เดวิด สตอรี
(David Storey)
สหราชอาณาจักรSaville”
ค.ศ. 1977พอล มาร์ค สกอตต์
(Paul Mark Scott)
สหราชอาณาจักร“Staying On”
ค.ศ. 1978ไอริส เมอร์ด็อค
(ไอริส เมอร์ด็อค)
สาธารณรัฐไอร์แลนด์/สหราชอาณาจักร“The Sea, the Sea”
ค.ศ. 1979เพเนโลปี ฟิตซเจอราลด์
(เพเนโลปี ฟิตซเจอราลด์)
สหราชอาณาจักร“Offshore”
ค.ศ. 1980วิลเลียม โกลดิง
(William Golding)
สหราชอาณาจักร“Rites of Passage”
ค.ศ. 1981ซัลมัน รัชดี
(Salman Rushdie)
สหราชอาณาจักร/อินเดีย“Midnight's Children”
ค.ศ. 1982ทอมัส คนีลลีย์
(Thomas Keneally)
ออสเตรเลีย“Schindler's Ark”
ค.ศ. 1983จอห์น แมกซ์เวล คูตซี
(J. M. Coetzee)
ประเทศแอฟริกาใต้/ออสเตรเลีย“Life & Times of Michael K”
ค.ศ. 1984แอนิตา บรุคเนอร์
(Anita Brookner)
สหราชอาณาจักร“Hotel du Lac”
ค.ศ. 1985เคริ ฮูล์ม
(Keri Hulme)
ประเทศนิวซีแลนด์“The Bone People”
ค.ศ. 1986คิงสลีย์ อามิส
(Kingsley Amis)
สหราชอาณาจักร“The Old Devils”
ค.ศ. 1987เพ็นเนโลปี ไลฟ์ลีย์
(Penelope Lively)
สหราชอาณาจักร“Moon Tiger”
ค.ศ. 1988ปีเตอร์ แครีย์
(Peter Carey)
ออสเตรเลีย“Oscar and Lucinda”
ค.ศ. 1989คาซูโอะ อิชิกุโร
(คาซูโอะ อิชิกุโร)
สหราชอาณาจักร/ญี่ปุ่น“The Remains of the Day”
ค.ศ. 1990เอ เอส ไบแอ็ท
(A. S. Byatt)
สหราชอาณาจักร“Possession: A Romance”
ค.ศ. 1991เบ็น โอคริ
(Ben Okri)
ไนจีเรีย“The Famished Road”
ค.ศ. 1992ไมเคิล ออนดัทเจ (Michael Ondaatje)
แบร์ริ อันสเวิร์ธ
(Barry Unsworth)
ประเทศศรีลังกา/แคนาดา
สหราชอาณาจักร
“The English Patient”
“Sacred Hunger”
ค.ศ. 1993รอดดี ดอล์ย
(Roddy Doyle)
Ireland“Paddy Clarke Ha Ha Ha”
ค.ศ. 1994เจมส์ เคลแมน
(James Kelman)
สหราชอาณาจักร“How Late It Was, How Late”
ค.ศ. 1995แพ็ท บาร์เคอร์
(Pat Barker)
สหราชอาณาจักร“The Ghost Road”
ค.ศ. 1996แกรม สวิฟต์
(Graham Swift)
สหราชอาณาจักร“Last Orders”
ค.ศ. 1997อรุณธตี รอย
(Arundhati Roy)
อินเดีย“The God of Small Things”
(เทพเจ้าแห่งสิ่งเล็กๆ)
ค.ศ. 1998เอียน แม็คคิวเว็น
(Ian McEwan)
สหราชอาณาจักร“Amsterdam”
ค.ศ. 1999จอห์น แมกซ์เวล คูตซี
(J. M. Coetzee)
ประเทศแอฟริกาใต้/ออสเตรเลีย“Disgrace”
ค.ศ. 2000มาร์กาเร็ต แอ็ตวูด
(Margaret Atwood)
Canada“The Blind Assassin”
ค.ศ. 2001ปีเตอร์ แครีย์
(Peter Carey)
ออสเตรเลีย“True History of the Kelly Gang”
ค.ศ. 2002ยันน์ มาร์เตล
(Yann Martel)
Canada“Life of Pi”
ค.ศ. 2003ดีบีซี เพียร์ซ
(DBC Pierre)
ออสเตรเลีย/Mexico“Vernon God Little”
ค.ศ. 2004อแลน โฮลลิงเฮิร์สต์
(Alan Hollinghurst)
สหราชอาณาจักร“The Line of Beauty”
ค.ศ. 2005จอห์น แบนวิลล์
(John Banville)
Ireland“The Sea”
ค.ศ. 2006คิราน เดซัย
(Kiran Desai)
อินเดีย“The Inheritance of Loss”
ค.ศ. 2007แอนน์ เอ็นไรท์
(Anne Enright)
สาธารณรัฐไอร์แลนด์“The Gathering”
ค.ศ. 2008อราวินด์ อดิกา
(Aravind Adiga)
อินเดีย“The White Tiger”

อ้างอิง แก้

🔥 Top keywords: สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีหน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยอันดับโลกเอฟไอวีบีวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024พิเศษ:ค้นหาอสมทจังหวัดชัยนาทเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 6วิษณุ เครืองามบางกอกคณิกาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัววอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)วอลเลย์บอลพระสุนทรโวหาร (ภู่)สรพงศ์ ชาตรีพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวราณี แคมเปน4 KINGS 2รอยรักรอยบาปพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)ราชวงศ์จักรีประเทศไทยเขื่อนเจ้าพระยายูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2024ณัฐณิชา ใจแสนเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวอริยสัจ 4ประวัติศาสตร์รายชื่อเครื่องดนตรีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชวิทยุเสียงอเมริกาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติฝรั่งเศสมิลลิ (แร็ปเปอร์)อาณาจักรอยุธยาประวัติศาสตร์ไทย