ฟุตบอลหญิงทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์

ฟุตบอลหญิงทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์ เป็นทีมฟุตบอลหญิงตัวแทนของประเทศสวิตเซอร์แลนด์[2] โดยลงแข่งขันครั้งแรกใน ค.ศ. 1972

สวิตเซอร์แลนด์
ฉายาLa Nati
สมาคมสมาคมฟุตบอลสวิส
สมาพันธ์ยูฟ่า (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนนิลส์ เนียลเซน
กัปตันLia Wälti
ติดทีมชาติสูงสุดมาร์ตินา โมเซอร์ (129)
ทำประตูสูงสุดAna-Maria Crnogorčević (61)
รหัสฟีฟ่าSUI
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 21 ลดลง 1 (25 สิงหาคม 2023)[1]
อันดับสูงสุด15 (มิถุนายน ค.ศ. 2016)
อันดับต่ำสุด31 (มีนาคม ค.ศ. 2007)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 2–2 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส
(บาเซิล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์; 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1972)
ชนะสูงสุด
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 11–0 มอลตา ธงชาติมอลตา
(ซูค ประเทศสวิตเซอร์แลนด์; 5 เมษายน ค.ศ. 2014)
แพ้สูงสุด
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 11–0 สวิตเซอร์แลนด์ ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์
(ไวน์การ์เทิน ประเทศเยอรมนี; 25 กันยายน ค.ศ. 1994)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2015)
ผลงานดีที่สุดรอบ 16 ทีมสุดท้าย (2015)
ชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2017)
ผลงานดีที่สุดรอบแบ่งกลุ่ม (2017)

สวิตเซอร์แลนด์ผ่านรอบคัดเลือกไปเล่นในรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกหญิง 2015 ที่ประเทศแคนาดา นับเป็นครั้งแรกที่สวิตเซอร์แลนด์ได้เข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง และเป็นครั้งแรกที่ทั้งทีมชายและทีมหญิงได้เข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลกพร้อมกัน[3][4]

ในฟุตบอลโลกหญิง 2015 สวิตเซอร์แลนด์ถูกจับสลากให้อยู่ในกลุ่ม ซี ร่วมกับญี่ปุ่น แคเมอรูน และเอกวาดอร์ สวิตเซอร์แลนด์ชนะเอกวาดอร์ 10–1 แพ้ญี่ปุ่น 1–0 และแพ้แคเมอรูน 2–1 ทำให้จบอันดับที่สามของกลุ่ม แต่พวกเขาติด 1 ใน 4 ของทีมอันดับสามที่ดีที่สุด ทำให้ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออกได้ อย่างไรก็ตาม ในรอบ 16 ทีมสุดท้าย สวิตเซอร์แลนด์พ่ายแพ่ต่อเจ้าภาพอย่างแคนาดา 1–0 ทำให้ยุติเส้นทางในรายการแข่งขันเพียงเท่านี้[5]

สวิตเซอร์แลนด์ผ่านรอบคัดเลือกไปเล่นในรอบสุดท้ายของฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปเป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 2017 พวกเขาอยู่ในกลุ่ม ซี ร่วมกับฝรั่งเศส ออสเตรีย และไอซ์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์แพ้ออสเตรีย 1–0 ชนะไอซ์แลนด์ 2–1 และเสมอกับฝรั่งเศส 1–1 ทำให้จบอันดับที่ 3 ของกลุ่ม ไม่สามารถผ่านเข้าสู่รอบถัดไปได้

สถิติการแข่งขัน

แก้

ฟุตบอลโลก

แก้
ฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย
ปีผลอันดับแข่งชนะเสมอแพ้ได้เสีย
1991 ถึง 2011ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
2015รอบ 16 ทีมสุดท้าย154103115
2019ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ทั้งหมด1/84103115
ประวัติการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง
ปีรอบวันที่คู่แข่งผลสนาม
2015Group stage8 มิถุนายน  ญี่ปุ่นL 0–1BC Place, แวนคูเวอร์
12 มิถุนายน  เอกวาดอร์W 10–1
16 มิถุนายน  แคเมอรูนL 1–2Commonwealth Stadium, เอ็ดมันตัน
รอบ 16 ทีมสุดท้าย21 June  แคนาดาL 0–1BC Place, แวนคูเวอร์

ชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป

แก้
ปีผลแข่งชนะเสมอแพ้ได้เสีย
1984 ถึง 2013ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
2017รอบแบ่งกลุ่ม311133
ทั้งหมด1/12311133

อ้างอิง

แก้
  1. "The FIFA/Coca-Cola Women's World Ranking". FIFA. 25 สิงหาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2023.
  2. FIFA.com (1 January 1900). "Fast-improving Switzerland aim for fresh highs". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-27. สืบค้นเมื่อ 13 July 2017.
  3. Reuters (21 June 2015). "Canada edge past Switzerland into last eight of Women's World Cup". สืบค้นเมื่อ 13 July 2017 – โดยทาง The Guardian.
  4. "An obituary for Switzerland". สืบค้นเมื่อ 13 July 2017.
  5. "Standings". UEFA. สืบค้นเมื่อ 20 December 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
🔥 Top keywords: หน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาอสมทดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)รายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัววอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024วอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก 2024พระอภัยมณีฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024โฉมฉาย ฉัตรวิไลการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475ศิริลักษณ์ คองฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปอริยสัจ 4กาบรีแยลา กีมาไรส์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลรัญชน์รวี เอื้อกูลวราวัตรราชวงศ์จักรีกองทัพ พีคอาณาจักรอยุธยาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรตารางธาตุวีระยุทธ ดิษยะศรินประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระอภัยมณี (ตัวละคร)นิราศภูเขาทองวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีกดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียววอลเลย์บอลวรัทยา นิลคูหากรณ์นภัส เศรษฐรัตนพงศ์อาณาจักรสุโขทัยทวีปยุโรปรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย