ฟุตบอลทีมชาติฮังการี

ฟุตบอลทีมชาติฮังการี (ฮังการี: Magyar labdarúgó-válogatott) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนทีมชาติจากประเทศฮังการี ประเทศในแถบยุโรปกลาง ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลฮังการี

ฮังการี
Shirt badge/Association crest
ฉายาThe Magical Magyars (แมกยาร์มหัศจรรย์; ในทศวรรษที่ 1950)
Nemzeti Tizenegy (ชาติที่สิบเอ็ด)
นักรบแมกยาร์ (ฉายาในประเทศไทย)
สมาคมMagyar Labdarúgó Szövetség (MLSZ)
สมาพันธ์UEFA (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนบาร์นด์ สตอร์ก
กัปตันโดมินิก โซโบสลอยี
ติดทีมชาติสูงสุดกาเบอร์ คิราลี (104)
ทำประตูสูงสุดแฟแร็นตส์ ปุชกาช (84)
สนามเหย้ากรูปามาอารีนา
รหัสฟีฟ่าHUN
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 26 เพิ่มขึ้น 1 (4 เมษายน 2024)[1]
อันดับสูงสุด18 (เมษายน–พฤษภาคม 2016)
อันดับต่ำสุด87 (กรกฎาคม 1996)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย 5–0 ฮังการี ธงชาติฮังการี
(เวียนนา, ออสเตรีย 12 ตุลาคม 1902)
ชนะสูงสุด
ธงชาติฮังการี ฮังการี 13–1 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส
(บูดาเปสต์, ฮังการี; 12 มิถุนายน 1927)
ธงชาติฮังการี ฮังการี 12–0 แอลเบเนีย ธงชาติแอลเบเนีย
(บูดาเปสต์, ฮังการี; 24 กันยายน 1950)
แพ้สูงสุด
ธงชาติฮังการี ฮังการี 0–7 อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ
(บูดาเปสต์, ฮังการี; 10 มิถุนายน 1908)
อังกฤษ สมัครเล่นอังกฤษ 7–0 ฮังการี ธงชาติฮังการี
(โซลนา, สวีเดน; 30 มิถุนายน 1912)[2]
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 7–0 ฮังการี ธงชาติฮังการี
(โคโลญจ์, เยอรมนี; 6 เมษายน 1941)
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 8–1 ฮังการี ธงชาติฮังการี
(อัมสเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์; 11 ตุลาคม 2013)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม9 (ครั้งแรกใน 1934)
ผลงานดีที่สุดรองแชมป์; 1938 และ 1954
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
เข้าร่วม3 (ครั้งแรกใน 1964)
ผลงานดีที่สุดที่สาม, 1964
สถิติเหรียญโอลิมปิก
ฟุตบอลชาย
โอลิมปิกฤดูร้อน
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เฮลซิงกิ 1952 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศโตเกียว 1964ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศเม็กซิโกซิตี 1968ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ มิวนิก 1972 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3โรม 1960 ทีม

ประวัติ แก้

สมาพันธ์ฟุตบอลฮังการีก่อตั้งในปี ค.ศ. 1901 ในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งฮังการีเคยเป็นชาติที่มีประวัติยิ่งใหญ่ในวงการฟุตบอลระดับโลก โดยเป็นถึงรองแชมป์โลก 2 ครั้ง ในฟุตบอลโลก 1938 และฟุตบอลโลก 1954 และได้ที่ 3 ในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1964 รวมถึงได้เหรียญทอง, เหรียญเงิน และเหรียญทองแดง ในฟุตบอลชายของโอลิมปิกหลายต่อหลายครั้ง โดยมีแฟแร็นตส์ ปุชกาช เป็นผู้เล่นที่โดดเด่นมีชื่อเสียงมากในระดับโลก จนอาจถือได้เป็นระดับตำนานคนหนึ่งเทียบเท่ากับเปเล่[3][4][5][6] [7]

ปัจจุบัน ฮังการีได้ห่างหายจากการแข่งขันระดับโลกไปนาน รวมถึงนักฟุตบอลของฮังการีเองก็ไม่ปรากฏชื่อเสียงเหมือนเดิม ในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 ฮังการีได้ผ่านเข้ามาในรอบสุดท้ายได้สำเร็จ นับว่าเป็นครั้งแรกในรอบ 44 ปี สำหรับการแข่งขันในระดับโลก นับตั้งแต่ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1972[8] โดยเข้ารอบสุดท้ายได้ด้วยการคัดเลือกเอาชนะนอร์เวย์ไป 2–1 (รวมผล 2 นัด ชนะ 3–1) โดยฮังการีอยู่ในกลุ่มเอฟร่วมกับโปรตุเกส, ออสเตรีย และไอซ์แลนด์ และผลการแข่งขันนัดแรก ฮังการีก็สามารถเอาชนะออสเตรียไปได้ 0–2[9]

การแข่งขัน แก้

เป็นการแข่งขันระหว่างออสเตรียและฮังการี

รายชื่อผู้เล่น แก้

รายชื่อผู้เล่น 23 คน ที่จะเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 ที่ประเทศฝรั่งเศส

0#0ตำแหน่งผู้เล่นวันเกิด (อายุ)ลงเล่นประตูสโมสร
11GKกาโบร์ กิราย1 เมษายน ค.ศ. 1976 (อายุ 40 ปี)1030 ฮอลอดาช
22DFอาดาม ล็องก์17 มกราคม ค.ศ. 1993 (อายุ 23 ปี)110 วิแดโอโตน
32DFมิฮาย โกร์ฮุต1 ธันวาคม ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี)40 แดแบร็ตแซ็น
42DFตอมาช กาดาร์14 มีนาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 26 ปี)300 แลคปอซนัญ
52DFอ็อตติลอ ฟิโอลอ17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 (อายุ 26 ปี)150 ปุชกาชออกอเดมิออ
63MFอาโกช แอแล็ก21 กรกฎาคม ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี)381 ดิโอชเจอรี เวเตกา
74FWบอลาฌ จูจาก (กัปตัน)23 ธันวาคม ค.ศ. 1986 (อายุ 29 ปี)7818 บูร์ซัสปอร์
83MFอาดาม น็อจ17 มิถุนายน ค.ศ. 1995 (อายุ 20 ปี)80 แฟแร็นตส์วาโรช
94FWอาดาม ซอล็อย9 ธันวาคม ค.ศ. 1987 (อายุ 28 ปี)328 ฮันโนเฟอร์ 96
104FWโซลตาน แกรา22 เมษายน ค.ศ. 1979 (อายุ 37 ปี)8924 แฟแร็นตส์วาโรช
114FWกริสติอาน เนแม็ต5 มกราคม ค.ศ. 1989 (อายุ 27 ปี)243 อัลเฆาะรอฟะฮ์
121GKเดแน็ช ดิบุส16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990 (อายุ 25 ปี)40 แฟแร็นตส์วาโรช
134FWดานิแอ็ล เบอแด24 ตุลาคม ค.ศ. 1986 (อายุ 29 ปี)124 แฟแร็นตส์วาโรช
143MFแกร์เกอ โลฟแร็นชิช1 กันยายน ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี)121 แลคปอซนัญ
153MFลาสโล ไกลน์ไฮส์แลร์8 เมษายน ค.ศ. 1994 (อายุ 22 ปี)51 แวร์เดอร์เบรเมิน
162DFอาดาม ปินเตร์12 มิถุนายน ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี)210 แฟแร็นตส์วาโรช
174FWเนมันยา นีคอลิช31 ธันวาคม ค.ศ. 1987 (อายุ 28 ปี)183 แลเกียวาร์ชาวา
183MFโซลตาน ชตีแบร์16 ตุลาคม ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี)122 เนือร์นแบร์ก
194FWตอมาช ปริชกิน27 กันยายน ค.ศ. 1986 (อายุ 29 ปี)5617 สลอวันบราจิสลาวา
202DFริฮาร์ด กุซมิช16 เมษายน ค.ศ. 1987 (อายุ 29 ปี)141 วิสวากรากุฟ
212DFบอร์นอบาช แบแช6 พฤษภาคม ค.ศ. 1994 (อายุ 22 ปี)10 แอ็มเตกา บูดอแป็ชต์
221GKเปแตร์ กูลาชี6 พฤษภาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 26 ปี)30 แอร์เบ ไลพ์ซิจ
232DFโรล็อนด์ ยูฮาส1 กรกฎาคม ค.ศ. 1983 (อายุ 32 ปี)916 วิแดโอโตน

ชุดแข่งขันในแต่ละยุค แก้

1950s
1972
1982
1986
2000
2002
2004
2006
2008
2010
2012
2014
2016

ชุดแข่งขันปัจจุบัน แก้

เหย้า
เยือน
ผู้รักษาประตู 1
ผู้รักษาประตู 2

อดีตผู้เล่นคนสำคัญ แก้

อ้างอิงและเชิงอรรถ แก้

  1. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 4 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2024.
  2. การแข่งขันนัดนี้มิได้ถูกบันทึกไว้ในสมาคมฟุตบอลอังกฤษ และไม่จัดว่าเป็นทีมชาติอังกฤษ
  3. "ยูโร 2016 ใครชนะ ใครแชมป์ 14 06 59 เบรก 2". ฟ้าวันใหม่. 14 June 2016. สืบค้นเมื่อ 15 June 2016.
  4. "FIFA President: FIFA to help the Galloping Major". FIFA. 12 October 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2006. สืบค้นเมื่อ 2006-11-17.
  5. "Coronel Puskas, el zurdo de oro" (ภาษาสเปน). AS. 17 November 2006. สืบค้นเมื่อ 2006-11-17.
  6. Mackay, Duncan (13 October 2005). "Lineker tees up another nice little earner". London: Guardian Unlimited. สืบค้นเมื่อ 2006-11-17.
  7. "Blatter unveils FIFA Puskas Award". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-12-13. สืบค้นเมื่อ 2016-06-15.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  8. "ฮังการี เข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลยูโร ครั้งแรกในรอบ 44 ปี". สำนักข่าวไทย. 25 November 2015. สืบค้นเมื่อ 15 June 2016.
  9. ""ฮังการี" เร่งเครื่องดับ "ออสเตรีย" 10 คน 2-0 ประเดิมชัยยูโรนัดแรก". พีพีทีวี. 15 June 2016. สืบค้นเมื่อ 15 June 2016.[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

🔥 Top keywords: หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลเชลซีภาวะโลกร้อนพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณอนันต์ บุนนาคอสมทพิเศษ:ค้นหาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเฟซบุ๊กเข็มอัปสร สิริสุขะไทยลีกสโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลาสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดไบเออร์ 04 เลเวอร์คูเซินสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)เฮลล์คิทเช่นไทยแลนด์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิสโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตีสุภาพบุรุษจุฑาเทพพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)กองทัพ พีคอุดม แต้พานิชเอซี มิลานสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารีจังหวัดอุตรดิตถ์ซูเปอร์เซ็นไตซีรีส์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร