ปราสาทคูมาโมโตะ

ปราสาทในประเทศญี่ปุ่น

ปราสาทคูมาโมโตะ (ญี่ปุ่น: 熊本城โรมาจิKumamoto-jō) เป็นปราสาทสถาปัตยกรรมแบบญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเขตชูโอ นครคูมาโมโตะ ในจังหวัดคูมาโมโตะ[1] จัดเป็นปราสาทที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของญี่ปุ่น

logo
logo

ปราสาทคูมาโมโตะ
熊本城

แผนที่

ฉายา

ปราสาทแห่งต้นแปะก๊วย

สถาปัตยกรรม

ศิลปะสมัยต้นเอโดะ

ผู้สร้าง
  • อิเดตะ ฮิเดโนบุ (1467) [1]
  • คาโนโกนิ ชิกากาซุ (1496) [1]
  • คาโต คิโยมาซะ (1601-1607) [1]
  • คาโต คิโยมาซะ (1610) [1]
  • ปีที่สร้าง
  • 1467 (ป้อมปราการดั้งเดิม) [1]
  • 1496 (ขยับขยาย) [1]
  • 1601-1607 (ขยับขยาย) [1]
  • 1610 (พระราชวังฮมมารุโกเต็ง) [1]
  • 1960 (บูรณะ) [1]
  • 1998-2008 (บูรณะ) [1]
  • ปกครองโดย

    ตระกูลอิเดตะ (1469-1496)
    ตระกูลคาโนโกงิ (1496-1550)
    ตระกูลโจ (1550-1587)
    ตระกูลซัซซะ (1587-1588)
    ตระกูลคาโต (1588-1632)
    ตระกูลโฮโซกาวะ (1632-1871)
    รัฐบาลญี่ปุ่น (1871-ปัจจุบัน)

    ใช้งานถึง

    ค.ศ. 1874 (พ.ศ. 2417)

    ปราสาทคูมาโมโตะ
    ชื่อภาษาญี่ปุ่น
    คันจิ熊本城
    ฮิรางานะくまもとじょう
    การถอดเสียง
    โรมาจิKumamoto-jō

    ปราสาทคูมาโมโตะได้เริ่มสร้างขึ้นอย่างจริงจังจนเสร็จสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1601 โดยดำริของ คาโต คิโยมาซะ เจ้าแห่งคูมาโมโตะ เพื่อใช้เป็นป้อมปราการ จนแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 1607 พื้นที่อาณาบริเวณของปราสาทยาวประมาณ 9 กิโลเมตร ตัวปราสาทมีป้อมปืน 49 ป้อม ประตูป้อมปืน 18 ประตู และประตูขนาดเล็ก 29 ประตู มีหอคอยสูง 2 หอ ทำให้สามารถมองได้รอบทิศจากมุมสูง หอใหญ่จะสูง 30.3 เมตร หอเล็กสูง 19 เมตร ปราสาทหลังเดิมถูกเพลิงไหม้เสียหายในปี ค.ศ. 1877 ต่อมาได้สร้างใหม่ในปี ค.ศ. 1960

    ระเบียงภาพ

    แก้

    ภาพยุคเก่า

    ภาพสมัยปัจจุบัน

    อ้างอิง

    แก้
    1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 O'Grady, Daniel. "Kumamoto Castle - 熊本城". Japanese Castle Explorer. สืบค้นเมื่อ 2010-07-13.

    ข้อมูลเพิ่มเติม

    แก้

    32°48′22″N 130°42′21″E / 32.806063°N 130.705972°E / 32.806063; 130.705972

    🔥 Top keywords: โฉมฉาย ฉัตรวิไลหน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพระสุนทรโวหาร (ภู่)พิเศษ:ค้นหาวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024อสมทพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)จิรวรรณ เตชะหรูวิจิตรฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024กัลย์กมล จิรชัยศักดิ์เดชาฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีอันดับโลกเอฟไอวีบีราชวงศ์จักรีมัณฑนา หิมะทองคำพระอภัยมณีทรีจี (วงดนตรี)ดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลดราก้อน ไฟว์แกเร็ท เซาท์เกตพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรโกปาอาเมริกาประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอริยสัจ 4อาณาจักรอยุธยาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโกปาอาเมริกา 2024วอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก 2024ประวัติศาสตร์ไทยนิราศภูเขาทองตารางธาตุวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 18 ปีวอลเลย์บอลวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2023ทวีปยุโรป