นีออน (อังกฤษ: neon) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ Ne และเลขอะตอม 10 นีออนเป็นก๊าซเฉื่อย เป็นสมาชิกหมู่ที่ 8 ของตารางธาตุ เป็นแก๊สอะตอมเดี่ยวที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่นและเกือบจะไม่เกิดปฏิกิริยาเคมีใด ๆ และเกิดแสงเรืองสีแดงเมื่อใช้ในหลอดสุญญากาศ (vacuum discharge tube) กับไฟนีออน และพบในปริมาณเล็กน้อยในอากาศ (หนึ่งใน 55,000 ส่วน) ได้จากการนำอากาศเหลวมากลั่นลำดับส่วนและเกือบจะไม่เกิดปฏิกิริยาเคมีใด ๆ เลย

นีออน, 00Ne
นีออน
Appearanceเป็นแก๊สไม่มีสีแต่จะเรืองแสงสีส้มแดงในสนามไฟฟ้าแรงดันสูง
Standard atomic weight Ar°(Ne)
  • 20.1797±0.0006
  • 20.180±0.001 (abridged)[1]
นีออน in the periodic table
HydrogenHelium
LithiumBerylliumBoronCarbonNitrogenOxygenFluorineNeon
SodiumMagnesiumAluminiumSiliconPhosphorusSulfurChlorineArgon
PotassiumCalciumScandiumTitaniumVanadiumChromiumManganeseIronCobaltNickelCopperZincGalliumGermaniumArsenicSeleniumBromineKrypton
RubidiumStrontiumYttriumZirconiumNiobiumMolybdenumTechnetiumRutheniumRhodiumPalladiumSilverCadmiumIndiumTinAntimonyTelluriumIodineXenon
CaesiumBariumLanthanumCeriumPraseodymiumNeodymiumPromethiumSamariumEuropiumGadoliniumTerbiumDysprosiumHolmiumErbiumThuliumYtterbiumLutetiumHafniumTantalumTungstenRheniumOsmiumIridiumPlatinumGoldMercury (element)ThalliumLeadBismuthPoloniumAstatineRadon
FranciumRadiumActiniumThoriumProtactiniumUraniumNeptuniumPlutoniumAmericiumCuriumBerkeliumCaliforniumEinsteiniumFermiumMendeleviumNobeliumLawrenciumRutherfordiumDubniumSeaborgiumBohriumHassiumMeitneriumDarmstadtiumRoentgeniumCoperniciumNihoniumFleroviumMoscoviumLivermoriumTennessineOganesson
He

Ne

Ar
ฟลูออรีนนีออนโซเดียม
Groupgroup 18 (noble gases)
Periodperiod 2
Block  p-block
Electron configuration[He] 2s2 2p6
Electrons per shell2, 8
Physical properties
Phase at STPแก๊ส
Melting point24.56 K ​(-248.59 °C, ​-415.46 °F)
Boiling point27.104 K ​(-246.046 °C, ​-410.883 °F)
Density (at STP)0.9002 g/L
when liquid (at b.p.)1.207[2] g/cm3
Triple point24.556 K, ​43.37[3][4] kPa
Critical point44.4918 K, 2.7686[4] MPa
Heat of fusion0.335 kJ/mol
Heat of vaporization1.71 kJ/mol
Molar heat capacity5R/2 = 20.786 J/(mol·K)
Vapor pressure
P (Pa)1101001 k10 k100 k
at T (K)121315182127
Atomic properties
Oxidation states0
Covalent radius58 pm
Van der Waals radius154 pm
Color lines in a spectral range
Color lines in a spectral range
Spectral lines of นีออน
Other properties
Natural occurrenceprimordial
Crystal structure ​รูปลูกบาศก์กลางหน้า
Speed of sound(แก๊ส, 0 °C) 435 m/s
Thermal conductivity49.1×10−3  W/(m⋅K)
Magnetic orderingไดอะแมกเนติก[5]
Bulk modulus654 GPa
CAS Number7440-01-9
History
Predictionวิลเลียม แรมเซย์ (1897)
Discoveryวิลเลียม แรมเซย์ & มอร์ริส ทราเวอร์[6] (1898)
First isolationวิลเลียม แรมเซย์ & มอร์ริส ทราเวอร์[7] (1898)
Isotopes of นีออน
Template:infobox นีออน isotopes does not exist
หมวดหมู่ Category: นีออน
| references

การค้นพบ แก้

นีออนค้นพบโดย Sir William Ramsay และ M.W. Travers ถูกค้นพบที่ กรุงลอนดอนประเทศอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1898 เป็นเศษส่วนที่ระเหยง่ายจากอาร์กอนเหลว ณ อุณหภูมิที่อากาศกลายเป็นของเหลว ส่วนอาร์กอนนั้นเป็นแก๊สเล็กน้อยที่เหลืออยู่เมื่อนำแก๊สไนโตรเจนจากอากาศมาทำปฏิกิริยากับแมกนีเซียมที่เผาจนร้อนแดงคำว่า Neon มาจากคำกรีก neos ตรงกับคำอังกฤษ new แปลว่าใหม่ และต่อมาพวกเขาค้นพบธาตุซีนอนโดยใช้วิธีการที่คล้ายกัน

การใช้ประโยชน์ แก้

การใช้ประโยชน์ของนีออนในเชิงพาณิชย์ที่สำคัญที่สุดได้แก่ กลไกการทำให้เกิดแสงสว่าง และที่คุ้นเคยมากที่สุดคือหลอดนีออนที่ใช้เป็นไฟโฆษณา หลอดเรืองแสง (fluorescence lamp) หลอดนำแก๊ส (gaseous conduction lamp) หลอดไฟที่บรรจุด้วยนีออนที่ความดันต่ำมาก (เพียงไม่กี่ mm Hg) ให้แสงส้มแดงที่สว่าง ส่วนหลอดไฟนีออนที่ใช้เป็นไฟโฆษณาอาจบรรจุด้วยแก๊สอื่นด้วย เช่น ฮีเลียม อาร์กอนหรือปรอท และสีของแสงไฟขึ้นกับชนิดของแก๊สผสมและสีของแก้วของหลอดไฟ นอกจากนี้แล้วหลอด Geiger-Muller ที่ใช้ในการจับและนับอนุภาคนิวเคลียร์ ก็บรรจุด้วยของผสมของนีออนและโบรมีน หรือของผสมของนีออนและคลอรีน Ionization chambers, proportional counters, neutron fission counter, scintillation counters และ cosmic ray counters ก็อาจใช้นีออน อาร์กอน ฮีเลียม หรือของผสมของแก๊สเหล่านี้กับไฮโดรคาร์บอน เฮโลเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สเลเซอร์ (gas lasers) ก็ใช้ของผสมของฮีเลียมและนีออน นีออนที่ใช้ในหลอดสุญญากาศใช้เป็นตัวชี้วัดไฟฟ้าแรงสูง ดักฟ้าผ่าหลอดเมตรคลื่นหลอดโทรทัศน์ นีออนเหลวถูกนำมาใช้ในเชิงพาณิชย์เป็นสารทำความเย็น อุณหภูมิในการใช้งานไม่จำเป็นต้องอุณหภูมิต่ำ และทั้งก๊าซนีออนและนีออนเหลวค่อนข้างมีราคาแพง เนื่องจากธาตุนีออนค่อนข้างจะมีอยู่น้อยในธรรมชาติ

ความเป็นพิษ แก้

นีออนไม่ติดไฟและไม่ปรากฏเป็นพิษแต่อย่างใด

ข้อเท็จจริง แก้

  • คิดเป็นร้อยละ 0.0018 ของชั้นบรรยากาศของโลกเป็นนีออน
  • แม้ว่ามันจะเป็นธาตุที่ค่อนข้างหายากบนโลกของเรา แต่นีออนเป็นองค์ประกอบที่มีมากที่สุด ลำดับที่ที่ห้าในจักรวาล
  • ธาตุนีออนไม่มีสารประกอบที่มีเสถียรภาพ[9]

ออกซิเดชันสามัญ ของธาตุนีออน แก้

ไอโซโทปมวลอะตอมความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ (%)
20Ne19.99290.48
21Ne20.9940.27
22Ne21.9919.25

[10]

อ้างอิง แก้

  1. "Standard Atomic Weights: Neon". CIAAW. 1985.
  2. Hammond, C.R. (2000). The Elements, in Handbook of Chemistry and Physics 81st edition (PDF). CRC press. p. 19. ISBN 0849304814.
  3. Preston-Thomas, H. (1990). "The International Temperature Scale of 1990 (ITS-90)". Metrologia. 27: 3–10. Bibcode:1990Metro..27....3P. doi:10.1088/0026-1394/27/1/002.
  4. 4.0 4.1 Haynes, William M., บ.ก. (2011). CRC Handbook of Chemistry and Physics (92nd ed.). CRC Press. p. 4.122. ISBN 1439855110.
  5. Magnetic susceptibility of the elements and inorganic compounds, in Lide, D. R., บ.ก. (2005). CRC Handbook of Chemistry and Physics (86th ed.). Boca Raton (FL): CRC Press. ISBN 0-8493-0486-5.
  6. Ramsay, William, Travers, Morris W. (1898). "On the Companions of Argon". Proceedings of the Royal Society of London. 63 (1): 437–440. doi:10.1098/rspl.1898.0057.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  7. "Neon: History". Softciências. สืบค้นเมื่อ February 27, 2007.
  8. "HNe". NIST Chemistry WebBook. National Institute of Standards and Technology. สืบค้นเมื่อ 23 January 2013.
  9. http://www.webelements.com/neon/uses.html
  10. http://www.rsc.org/periodic-table/element/10/neon
🔥 Top keywords: หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติอสมทพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)ภาวะโลกร้อนพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีเฟซบุ๊กลมเล่นไฟพฤษภาคมรายการรหัสไปรษณีย์ไทยวันแรงงานโครงการเติมเงินผ่านกระเป๋าเงินดิจิทัล 10,000 บาทมาริษ เสงี่ยมพงษ์พระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกพิมพ์ภัทรา วิชัยกุลสุภัคชญา ชาวคูเวียงปานปรีย์ พหิทธานุกรประเทศไทยสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไบเออร์ 04 เลเวอร์คูเซินแบมแบมวิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลาสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีคิม ซู-ฮย็อนพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเขตพื้นที่การศึกษาสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยFBรายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว