นครศูนย์กลาง

ประเภทของนครในประเทศญี่ปุ่น

นครศูนย์กลาง (ญี่ปุ่น: 中核市โรมาจิChūkakushiทับศัพท์: ชูกากูชิ) เป็นนครประเภทหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น เป็นเขตการปกครองที่ก่อตั้งขึ้นโดยรัฐบาลกลาง[1] นครศูนย์กลางได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่หลายอย่างที่ตามปกติแล้วจะดำเนินการโดยจังหวัด แต่นครศูนย์กลางมีอำนาจหน้าที่ไม่มากเท่านครใหญ่ที่รัฐกำหนด

ซัปโปโระฮาโกดาเตะอาซาฮิกาวะอาโอโมริฮาจิโนเฮะโมริโอกะเซ็นไดอากิตะยามางาตะฟูกูชิมะโคริยามะอิวากิมิโตะสึกูบะอุตสึโนมิยะมาเอบาชิทากาซากิอิเซซากิโอตะไซตามะ (เมือง)คาวาโงเอะคูมางายะคาวางูจิโทโกโรซาวะคาซูกาเบะโซกะโคชิงายะชิบะฟูนาบาชิคาชิวะฮาจิโอจิโยโกฮามะคาวาซากิโยโกซูกะฮิรัตสึกะโอดาวาระชิงาซากิซางามิฮาระอัตสึงิยามาโตะนีงาตะนางาโอกะโจเอ็ตสึโทยามะคานาซาวะฟูกูอิโคฟุนางาโนะมัตสึโมโตะกิฟุชิซูโอกะฮามามัตสึนูมาซุฟูจินาโงยะโทโยฮาชิโอกาซากิอิจิโนมิยะคาซูงาอิโทโยตะยกกาอิจิโอตสึเกียวโตโอซากะซาไกคิชิวาดะโทโยนากะซูอิตะทากัตสึกิฮิรากาตะอิบารากิยาโอะเนยางาวะฮิงาชิโอซากะโคเบะฮิเมจิอามางาซากิอากาชินิชิโนมิยะคาโกงาวะทาการาซูกะนาระวากายามะทตโตริมัตสึเอะโอกายามะคูราชิกิฮิโรชิมะคูเระฟูกูยามะชิโมโนเซกิทากามัตสึมัตสึยามะโคจิคิตะกีวชูฟูกูโอกะคูรูเมะซางะนางาซากิซาเซโบะคูมาโมโตะโออิตะมิยาซากิคาโงชิมะนาฮะ
(สามารถคลิกที่วงกลมได้)
     นครใหญ่ที่รัฐกำหนด
     นครศูนย์กลาง
     นครพิเศษ

ในการสมัครเพื่อยกฐานะเป็นนครศูนย์กลาง นครนั้นจะต้องมีประชากรมากกว่า 300,000 คน และมีพื้นที่มากกว่า 100 ตารางกิโลเมตร แต่ก็มีข้อยกเว้นพิเศษตามคำสั่งของคณะรัฐมนตรีในการยกฐานะนครที่มีประชากรต่ำกว่า 300,000 คน แต่มากกว่า 200,000 คน[2] หลังจากการยกเลิกการปกครองรูปแบบนครพิเศษในวันที่ 1 เมษายน 2015 นครใด ๆ ที่มีประชากรมากกว่า 200,000 คน ก็สามารถขอยกฐานะเป็นนครศูนย์กลางได้[3] การขอยกฐานะจะต้องได้รับความเห็นชอบจากทั้งสภานครและสภาจังหวัด

คำว่า "นครศูนย์กลาง" กำหนดขึ้นตามวรรคแรกของมาตรา 252 หมวด 22 ของกฎหมายปกครองตนเองท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่น[4]

รายชื่อนครศูนย์กลาง แก้

ณ วันที่ 1 เมษายน 2020 ซึ่งเป็นวันที่มีการพิจารณาฐานะนครครั้งล่าสุด มีนคร 60 แห่งที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นนครศูนย์กลาง ดังนี้[3][5]

ภูมิภาคจังหวัด
(กิ่งจังหวัด)
ชื่อวันที่แต่งตั้ง
เป็นนครศูนย์กลาง
หมายเหตุ
ฮกไกโดฮกไกโด
(คามิกาวะ)
01204 อาซาฮิกาวะ1 เมษายน 2000ที่ตั้งสำนักงานกิ่งจังหวัด
ฮกไกโด
(โอชิมะ)
01202 ฮาโกดาเตะ1 ตุลาคม 2005ที่ตั้งสำนักงานกิ่งจังหวัด, เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2005

โทโฮกุ

อาโอโมริ02201 อาโอโมริ1 ตุลาคม 2006ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
02203 ฮาจิโนเฮะ1 มกราคม 2017เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2016
อิวาเตะ03201 โมริโอกะ1 เมษายน 2008ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2008
อากิตะ05201 อากิตะ1 เมษายน 1997ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
ยามางาตะ06201 ยามางาตะ1 เมษายน 2019ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2019
ฟูกูชิมะ07203 โคริยามะ1 เมษายน 1997
07204 อิวากิ1 เมษายน 1999
07201 ฟูกูชิมะ1 เมษายน 2018ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
คันโตอิบารากิ08201 มิโตะ1 เมษายน 2020ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2020
โทจิงิ09201 อุตสึโนมิยะ1 เมษายน 1996ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
กุมมะ10201 มาเอบาชิ1 เมษายน 2009ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2009
10202 ทากาซากิ1 เมษายน 2011เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2011
ไซตามะ11201 คาวาโงเอะ1 เมษายน 2003
11222 โคชิงายะ1 เมษายน 2015เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2015
11203 คาวางูจิ1 เมษายน 2018เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018
ชิบะ12204 ฟูนาบาชิ1 เมษายน 2003เป็นนครศูนย์กลางที่มีประชากรมากที่สุด[6]
12217 คาชิวะ1 เมษายน 2008
โตเกียว13201 ฮาจิโอจิ1 เมษายน 2015
คานางาวะ14201 โยโกซูกะ1 เมษายน 2001
ชูบุโทยามะ16201 โทยามะ1 เมษายน 2005ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
อิชิกาวะ17201 คานาซาวะ1 เมษายน 1996ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
ฟูกูอิ18201 ฟูกูอิ1 เมษายน 2019ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2019
ยามานาชิ19201 โคฟุ1 เมษายน 2019เป็นนครศูนย์กลางที่มีมีประชากรน้อยที่สุด,[6] ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2019
นางาโนะ20201 นางาโนะ1 เมษายน 1999ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
20202 มัตสึโมโตะ1 เมษายน 2021เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2021
กิฟุ21201 กิฟุ1 เมษายน 1996ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
ไอจิ23211 โทโยตะ1 เมษายน 1998
23201 โทโยฮาชิ1 เมษายน 1999
23202 โอกาซากิ1 เมษายน 2003
23203 อิจิโนมิยะ1 เมษายน 2021เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2021
คันไซชิงะ25201 โอตสึ1 เมษายน 2009ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2009
โอซากะ27207 ทากัตสึกิ1 เมษายน 2003
27227 ฮิงาชิโอซากะ1 เมษายน 2005
27203 โทโยนากะ1 เมษายน 2012เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2012
27210 ฮิรากาตะ1 เมษายน 2014เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2014[7][8]
27212 ยาโอะ1 เมษายน 2018เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018
27215 เนยางาวะ1 เมษายน 2019เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2019
27205 ซูอิตะ1 เมษายน 2020เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2020
เฮียวโงะ28201 ฮิเมจิ1 เมษายน 1996
28204 นิชิโนมิยะ1 เมษายน 2008
28202 อามางาซากิ1 เมษายน 2009เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2009
28203 อากาชิ1 เมษายน 2018เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018
นาระ29201 นาระ1 เมษายน 2002ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
วากายามะ30201 วากายามะ1 เมษายน 1997ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
ชูโงกุทตโตริ31201 ทตโตริ1 เมษายน 2018ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018
ชิมาเนะ32201 มัตสึเอะ1 เมษายน 2018ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018
โอกายามะ33202 คูราชิกิ1 เมษายน 2002
ฮิโรชิมะ34207 ฟูกูยามะ1 เมษายน 1998
34202 คูเระ1 เมษายน 2016เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2016
ยามางูจิ35201 ชิโมโนเซกิ1 ตุลาคม 2005เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2005
ชิโกกุคางาวะ37201 ทากามัตสึ1 เมษายน 1999ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
เอฮิเมะ38201 มัตสึยามะ1 เมษายน 2000ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
โคจิ39201 โคจิ1 เมษายน 1998ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
คีวชูฟูกูโอกะ40203 คูรูเมะ1 เมษายน 2008เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2008
นางาซากิ42201 นางาซากิ1 เมษายน 1997ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
42202 ซาเซโบะ1 เมษายน 2016เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2016
โออิตะ44201 โออิตะ1 เมษายน 1997ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
มิยาซากิ45201 มิยาซากิ1 เมษายน 1998ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
คาโงชิมะ46201 คาโงชิมะ1 เมษายน 1996ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
โอกินาวะ47201 นาฮะ1 เมษายน 2013ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด

นครศูนย์กลางในอดีต แก้

ภูมิภาคจังหวัดชื่อภาษาญี่ปุ่นวันที่แต่งตั้งเป็นนครศูนย์กลางวันที่ยกฐานะเป็นนครใหญ่ที่รัฐกำหนด
คันโตคานางาวะ ซางามิฮาระ相模原市1 เมษายน 20031 เมษายน 2010
ชูบุชิซูโอกะ ฮามามัตสึ浜松市1 เมษายน 19961 เมษายน 2007
ชิซูโอกะ静岡市1 เมษายน 19961 เมษายน 2005
นีงาตะ นีงาตะ新潟市1 เมษายน 19961 เมษายน 2007
คันไซโอซากะ ซาไก堺市1 เมษายน 19961 เมษายน 2006
ชูโงกุโอกายามะ โอกายามะ岡山市1 เมษายน 19961 เมษายน 2009
คีวชูคูมาโมโตะ คูมาโมโตะ熊本市1 เมษายน 19961 เมษายน 2012

นครที่มีกำหนดจะยกฐานะเป็นนครศูนย์กลาง แก้

ภูมิภาคจังหวัดชื่อภาษาญี่ปุ่นวันที่กำหนดยกฐานะ
คันโตคานางาวะ ชิงาซากิ茅ヶ崎市1 เมษายน 2020
โอดาวาระ小田原市1 เมษายน 2020
อิบารากิ สึกูบะつくば市จะกำหนดภายหลัง
ไซตามะ โทโกโรซาวะ所沢市จะกำหนดภายหลัง
ชูบุชิซูโอกะ ฟูจิ富士市จะกำหนดภายหลัง
นางาโนะ มัตสึโมโตะ松本市1 เมษายน 2020
ไอจิ อิจิโนมิยะ一宮市2021 (ตั้งเป้าหมาย)
คันไซโอซากะ คิชิวาดะ岸和田市1 เมษายน 2020
มิเอะ ยกกาอิจิ四日市市2020 (ตั้งเป้าหมาย)

นครที่ตรงตามข้อกำหนด แต่ยังไม่มีการเสนอชื่อ แก้

นครต่อไปนี้มีประชากรมากกว่า 200,000 คน แต่ยังไม่มีการเสนอชื่อ (นครที่มีแผนขอยกฐานะเป็นนครศูนย์กลางจะไม่แสดงในรายชื่อนี้)

อ้างอิง แก้

  1. Web-Japan.org, "Local self-government," p. 3; retrieved 2012-11-28.
  2. 日本財団図書館(電子図書館) Revised Local Autonomy Law. nippon.zaidan.info.
  3. 3.0 3.1 日本總務省 - 中核市・施行時特例市. soumo.go.jp (ภาษาญี่ปุ่น).
  4. 日本財団図書館(電子図書館) Revised Local Autonomy Law. nippon.zaidan.info.
  5. "総務省|地方公共団体の区分|中核市・施行時特例市". กระทรวงกิจการภายในและการสื่อสาร รัฐบาลญี่ปุ่น. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  6. 6.0 6.1 2018年(平成30年)10月1日現在の推計人口, 日本の市の人口順位も参照
  7. "新藤総務大臣閣議後記者会見の概要" (Press release). 総務省. 2013年11月26日. สืบค้นเมื่อ 2013年11月26日. {{cite press release}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  8. "大阪府枚方市を中核市指定=佐賀は特例市-政府". 時事通信. 2013年11月26日. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-04. สืบค้นเมื่อ 2013年11月26日. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

🔥 Top keywords: หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระสุนทรโวหาร (ภู่)อสมทดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)เทศกาลไหว้บ๊ะจ่างพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัววอลเลย์บอลราชวงศ์จักรีสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีตารางธาตุพิธา ลิ้มเจริญรัตน์อริยสัจ 4ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปอาณาจักรสุโขทัยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรอาณาจักรอยุธยานิราศภูเขาทองพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรายชื่อเครื่องดนตรีณพสิน แสงสุวรรณพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพิธีไหว้ครูประเทศไทยรอยรักรอยบาปพระอภัยมณีในวันที่ฝนพร่างพรายฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024ประเทศฝรั่งเศสพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชกติกาฟุตบอลรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสงครามโลกครั้งที่สองทวีปยุโรปจารึกพ่อขุนรามคำแหง