กลุ่มภาษาซาซา–โกรานี

ซาซา–โกรานี เป็นกลุ่มย่อยทางภาษาศาสตร์ของกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งมักจัดอยู่ในสาขาที่ไม่ใช่เคิร์ดในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ[2][3][4] แต่ผู้พูดภาษากลุ่มนี้ส่วนใหญ่ถือว่าตนเองเป็นกลุ่มชาติพันธุ์เคิร์ด[5][6][7][8]

กลุ่มภาษาซาซา–โกรานี
ภูมิภาค:อิรัก, อิหร่าน, ตุรกี
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
อินโด-ยูโรเปียน
กลุ่มย่อย:
กลอตโตลอก:ไม่มี[1]

กลุ่มภาษาซาซา–โกรานีแบ่งออกเป็นภาษาซาซาและภาษาโกรานี[9][10] ในขณะที่ภาษาโกรานีประกอบด้วยภาษาถิ่น 4 ภาษา คือ เฮารามี, บาเจลานี, ชาบากี และซาร์ลี[11][12]

อ้างอิง

แก้
  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "กลุ่มภาษาซาซา–โกรานี". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.
  2. Frye, Richard Nelson (1984). The History of Ancient Iran (ภาษาอังกฤษ). C.H.Beck. p. 30. ISBN 9783406093975.
  3. Minahan, James (2002-05-30). Encyclopedia of the Stateless Nations: Ethnic and National Groups Around the World A-Z [4 Volumes] (ภาษาอังกฤษ). ABC-CLIO. ISBN 9780313076961.
  4. Hamelink, Wendelmoet (2016-04-21). The Sung Home. Narrative, Morality, and the Kurdish Nation (ภาษาอังกฤษ). BRILL. ISBN 9789004314825.
  5. Arakelova, Victoria (1999). "The Zaza People as a New Ethno-Political Factor in the Region". Iran & the Caucasus. 3/4: 397–408. doi:10.1163/157338499X00335. JSTOR 4030804.
  6. Kehl-Bodrogi; Otter-Beaujean; Barbara Kellner-Heikele (1997). Syncretistic religious communities in the Near East : collected papers of the international symposium "Alevism in Turkey and comparable syncretistic religious communities in the Near East in the past and present", Berlin, 14-17 April 1995. Leiden: Brill. p. 13. ISBN 9789004108615.
  7. Nodar Mosaki (14 March 2012). "The zazas: a kurdish sub-ethnic group or separate people?". Zazaki.net. สืบค้นเมื่อ 11 August 2015.
  8. J.N. Postgate (2007). Languages of Iraq, ancient and modern (PDF). Cambridge: British School of Archaeology in Iraq. p. 148. ISBN 978-0-903472-21-0. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-08-02. สืบค้นเมื่อ 20 May 2019.
  9. "Traditional classification tree". Iranatlas.com. สืบค้นเมื่อ 30 May 2019.
  10. I. M. Nick (2019). Forensic linguistics asylum-seekers, refugees and immigrants. Vernon Press. p. 60. ISBN 9781622731305.
  11. "Bajalan". Iranica Online. สืบค้นเมื่อ 30 May 2019.
  12. "Gurani". Iranica Online. สืบค้นเมื่อ 30 May 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
🔥 Top keywords: หน้าหลักพระสุนทรโวหาร (ภู่)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวอสมทจีระนันท์ กิจประสานฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024รายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียวดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)พระอภัยมณีพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2024–25ราชวงศ์จักรีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรอริยสัจ 4พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024วอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก 2024นิราศภูเขาทองอาณาจักรอยุธยาวรพงษ์ สง่าเนตรสไปร์ท (แร็ปเปอร์)ตารางธาตุวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 18 ปีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชประเทศไทยรายชื่อเครื่องดนตรีรอยรักรอยบาปในวันที่ฝนพร่างพรายทวีปยุโรปฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศสลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยอาณาจักรสุโขทัยวอลเลย์บอล