ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์

ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์ (ดัตช์: Slag om Nederland) เป็นส่วนหนึ่งของกรณีสีเหลือง (เยอรมัน: Fall Gelb) เยอรมันได้บุกยึดครองกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ (เบลเยี่ยม,ลักเซมเบิร์กและเนเธอร์แลนด์) และฝรั่งเศสระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.การสู้รบได้ดำเนินการต่อไปจนกระทั่งการยอมจำนนของกองทัพหลักของเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ทหารชาวดัตช์ในจังหวัดเซลันด์ยังคงต่อสู้กับกองทัพเวร์มัคท์จนกระทั่งวันที่ 17 พฤษภาคม เมื่อเยอรมนีได้ยึดครองประเทศเอาไว้อย่างสมบูรณ์

ยุทธการเนเธอร์แลนด์
ส่วนหนึ่งของ ยุทธการที่ฝรั่งเศส

ศูนย์กลางของรอตเทอร์ดามถูกทำลายหลังจากโดนทิ้งระเบิด
วันที่10–14 พฤษภาคม 1940
10–17 พฤษภาคม 1940 (ซีแลนด์)
สถานที่
เนเธอร์แลนด์
ผล

เยอรมันได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด

คู่สงคราม
 เนเธอร์แลนด์
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
 สหราชอาณาจักร
นาซีเยอรมนี เยอรมนี
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
เนเธอร์แลนด์ เฮนรี วินเคลมัน
เนเธอร์แลนด์ Jan Joseph Godfried van Voorst tot Voorst
ฝรั่งเศส เฮนรี่ จีโฮค์
นาซีเยอรมนี เฟดอร์ ฟ็อน บ็อค (Army Group B)
นาซีเยอรมนี Hans Graf von Sponeck
กำลัง
9 divisions
700 guns[1]
1 tank
5 tankettes
32 armoured cars[2]
145 aircraft[3]
Total: 280,000 men
22 divisions
1378 guns
759 tanks
830 aircraft[4]
6 armoured trains[5]
Total: 750,000 men
ความสูญเสีย
2332 KIA (Dutch Army)[6]
7000 wounded[6]
216 French KIA[6]
43 British KIA[6]
Over 2000 civilians killed[6]
2032 KIA[6]
6000–7000 wounded[6]
4 armoured trains[7]
225–275 aircraft total loss[6]
1350 prisoners to England[6]

ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์ถือเป็นยุทธการแรกที่กองทัพอากาศเยอรมัน ใช้ทหารพลร่ม (Fallschirmjäger) โดยเข้ายึดสนามบินของฝ่ายดัตซ์และสถานที่ทางยุทธศาสตร์ในรอตเทอร์ดาม และเดอะเฮก,ความรวดเร็วเพื่อการบุกรุกประเทศและตรึงกองทัพเนเธอร์แลนด์เอาไว้

ภายหลังการทิ้งระเบิดที่รอตเทอร์ดามโดยลุฟท์วัฟเฟอ,เยอรมันได้ข่มขู่ว่าจะทิ้งระเบิดเมืองต่างๆของดัตซ์ให้ราบคาบ ถ้ากองทัพเนเธอร์แลนด์ปฏิเสธที่จะยอมจำนน เสนาธิการทหารฝ่ายดัตซ์ต่างรู้ดีว่าไม่อาจหยุดยั้งการทิ้งระเบิดได้และออกคำสั่งให้กองทัพยุติสู้รบเพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะเกิดขึ้น.การยึดครองของเนเธอร์แลนด์ล่าสุดได้รับการปลดปล่อยในปี 1945.

อ้างอิง แก้

  1. Goossens, Dutch armament: Artillery, waroverholland.nl
  2. Goossens, Dutch armament: Miscellaneous, waroverholland.nl
  3. Goossens, Dutch armament: Military airplanes, waroverholland.nl
  4. Hooton 2007, p. 48
  5. De Jong, Het Koninkrijk, Staatsuitgeverij, 1971
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 6.7 6.8 Goossens, Balance Sheet, waroverholland.nl
  7. Kaufmann, J. E.; Kaufmann, H. W. (2 October 2007). Hitler's Blitzkrieg Campaigns: The Invasion And Defense Of Western Europe, 1939-1940. Da Capo Press. p. 191. ISBN 9780306816918. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-31. สืบค้นเมื่อ 2017-05-12.
🔥 Top keywords: สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีหน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยอสมทพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัววอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024วอลเลย์บอลวชิรวิชญ์ ชีวอารีในวันที่ฝนพร่างพรายเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 6พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรตะกั่ววอลเลย์บอลชายเอวีซีแชลเลนจ์คัพ 2024วรกมล ชาเตอร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงรอยรักรอยบาป4 KINGS 2พระสุนทรโวหาร (ภู่)อันดับโลกเอฟไอวีบีฮาน่า ลีวิสพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกอิษยา ฮอสุวรรณเจ้าคุณพระสินีนาฏ พิลาสกัลยาณีสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดาพีรญา มะลิซ้อนพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)ประเทศไทยปานวาด เหมมณีฟุตซอลกติกาฟุตบอลภีรนีย์ คงไทยราชวงศ์จักรีมิถุนายนแทนคุณ จิตต์อิสระศรีรัศมิ์ สุวะดี