ยุทธการที่โวโรเนจ (ค.ศ. 1942)

ยุทธการที่โวโรเนจ หรือ ยุทธการที่โวโรเนจครั้งที่หนึ่ง เป็นการสู้รบบนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง การสู้รบภายในและบริเวณรอบ ๆ เมืองโวโรเนจที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์บนแม่น้ำดอน อยู่ห่างจากทางตอนใต้ของกรุงมอสโก ระยะทางประมาณ 450 กิโลเมตร(280 ไมล์) ตั้งแต่วันที่ 28 มิถุนายน - 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1942 ซึ่งเป็นการเปิดฉากการรุกฤดูร้อนของเยอรมันในปี ค.ศ. 1942

ยุทธการที่โวโรเนจ (ค.ศ. 1942)
ส่วนหนึ่งของ กรณีสีน้ำเงินในแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง

แนวรบด้านตะวันออกในช่วงเวลายุทธการที่โวโรเนจ (คลิกภาพเพื่อดูภาพขยาย)
วันที่28 มิถุนายน – 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1942
สถานที่
ผลฝ่ายอักษะชนะ
คู่สงคราม
นาซีเยอรมนี เยอรมนี
ฮังการี ฮังการี
สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
นาซีเยอรมนี Hermann Hoth
ฮังการี กุสตาฟ ยานี
สหภาพโซเวียต Filipp Golikov
กำลัง
975,0001,300,000
ความสูญเสีย
94,500 casualties including 19,000 KIA and MIA[1]568,347
370,500 killed and 80,000 captured[1]
197,825 wounded[2]
แม่แบบ:Campaignbox Operation Blue to 3rd Kharkov

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "ВОЕННАЯ ЛИТЕРАТУРА --[ Исследования ]-- Бешанов В.В. Год 1942 - "учебный"" (ภาษารัสเซีย).
  2. Glantz (1995)2,436 tanks, 13,716 guns and mortars and 783 aircraft were destroyed or captured, p. 295
🔥 Top keywords: หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระสุนทรโวหาร (ภู่)อสมทดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)เทศกาลไหว้บ๊ะจ่างพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัววอลเลย์บอลราชวงศ์จักรีสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีตารางธาตุพิธา ลิ้มเจริญรัตน์อริยสัจ 4ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปอาณาจักรสุโขทัยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรอาณาจักรอยุธยานิราศภูเขาทองพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรายชื่อเครื่องดนตรีณพสิน แสงสุวรรณพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพิธีไหว้ครูประเทศไทยรอยรักรอยบาปพระอภัยมณีในวันที่ฝนพร่างพรายฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024ประเทศฝรั่งเศสพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชกติกาฟุตบอลรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสงครามโลกครั้งที่สองทวีปยุโรปจารึกพ่อขุนรามคำแหง